Page 158 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 158
140 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
มะขาม โดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์จำานวน 3 รูปแบบ 7. การทดสอบการระคายเคือง
(ภาพที่ 1) และให้ผู้เข้าร่วมวิจัยประเมินความพึงพอใจ ทดสอบการระคายเคือง ใช้วิธี patch test โดย
บรรจุภัณฑ์ ทาผลิตภัณฑ์พอกผิวจากเนื้อเมล็ดมะขามที่ตำาแหน่ง
6. การขอรับการรับรองจากคณะกรรมการ ทดสอบบริเวณท้องแขนข้างซ้ายของผู้เข้าร่วมวิจัย
้
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยทักษิณ งาน ปิดบริเวณทดสอบด้วยพลาสเตอร์ชนิดกันนำา ทิ้งไว้
วิจัยนี้ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรม นาน 24 ชั่วโมง เมื่อครบเวลาให้นำาพลาสเตอร์ชนิด
้
การวิจัยในมนุษย์ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562 เลขที่ กันนำาออก บันทึกผลการระคายเคือง และให้ซักถาม
รับรอง COA No. TSU 2019-031 อาการกับผู้เข้าร่วมวิจัยอีกครั้งเพื่อยืนยันผลการให้
โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัย ดังนี้ คะแนนความระคายเคือง จากนั้นนำาคะแนนที่ได้
ประชากร คือ นิสิตมหาวิทยาลัยทักษิณ คำานวณค่าเฉลี่ยของดัชนี ความระคายเคือง (Mean
วิทยาเขตพัทลุง Irritation Index: M.I.I) และแปลผลการก่อการ
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เข้าร่วมวิจัยสุขภาพดี คณะ ระคายเคือง [7]
วิทยาการสุขภาพและการกีฬา สาขาวิชาอาชีวอนามัย ดัชนีความระคายเคือง (M.I.I)
และความปลอดภัย สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ และ = ผลรวมของค่าความระคายเคือง
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ จำานวนผู้เข้าร่วมวิจัย
จำานวน 27 คน แบ่งระดับคะแนน ดังนี้
เกณฑ์การคัดผู้เข้าร่วมวิจัยเข้าร่วมโครงการ 0 = ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง
1. เพศหญิงและเพศชายสุขภาพดี อายุ 18- +1 = ผิวหนังแดง แต่ไม่บวมนูน
25 ปี +2 = ผิวหนังแดง และบวมนูน
้
2. ไม่มีประวัติการแพ้สมุนไพร +3 = ผิวหนังเป็นตุ่ม มีนำาเหลืองขังภายใน
3. ผู้เข้าร่วมวิจัยยินดีเข้าร่วมและเซ็นใบ +4 = ผิวหนังพองเปื่อยเป็นแผลเน่า
ยินยอมเข้าร่วม 8. การทดสอบคุณสมบัติความชุ่มชื้นของ
เกณฑ์การคัดผู้เข้าร่วมวิจัยออกจากโครงการ ผิวหนัง
1. มีพยาธิสภาพของผิวหนังและมีแผลสด 8.1 ล้างบริเวณท้องแขนข้างขวาของผู้
ขนาดใหญ่ เข้าร่วมวิจัยให้สะอาด เช็ดผิวให้แห้งด้วยกระดาษ
2. เป็นโรคติดต่อทางผิวหนังหรือโรคผิวหนัง ทิชชู จากนั้นกำาหนดตำาแหน่งทดสอบโดยวัดจากจุด
ที่ร้ายแรง กึ่งกลางข้อศอกขึ้นมาประมาณ 10 เซนติเมตร ดัง
เกณฑ์การยุติผู้เข้าร่วมวิจัยจากโครงการ ภาพที่ 2 วัดค่าความชุ่มชื้นของผิวหนังบริเวณตำาแหน่ง
1. เมื่อมีอาการแพ้ผลิตภัณฑ์ระหว่างการ ทดสอบด้วยเครื่องวัดความชุ่มชื้น
ศึกษาวิจัย 8.2 นำาผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด
2. ผู้เข้าร่วมวิจัยขอถอนตัวออกจากโครงการ มะขามทาบริเวณตำาแหน่งทดสอบ ดังภาพที่ 2 ทิ้งไว้
3. ผู้เข้าร่วมวิจัยไม่มีเวลาในการทดสอบ 30 นาที เช็ดบริเวณทดสอบให้แห้งด้วยกระดาษทิชชู