Page 161 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 161

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 19  No. 1  Jan-Apr  2021  143




            ตารางที่ 3  จำานวนร้อยละ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ  ผลิตภัณฑ์สามารถล้างออกง่ายในระดับมาก ร้อยละ
                     แบบสอบถาม                          4.14 มีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ให้ความชุ่มชื้น

             ข้อมูลทั่วไป           จ�านวน (คน)  ร้อยละ  กับผิวได้ดีในระดับมาก ร้อยละ 4.33 มีความพึงพอใจ
             เพศ                                        ต่อผลิตภัณฑ์ให้ความเรียบเนียนกับผิวได้ดีในระดับ
             ชาย                        5       18.5    มาก ร้อยละ 4.37 มีความพึงพอใจต่อบรรจุภัณฑ์ที่
             หญิง                      22       81.5    ใช้เหมาะกับผลิตภัณฑ์ในระดับมาก ร้อยละ 4.40 มี
             อายุ                                       ความพึงพอใจฉลากที่ใช้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ใน
             18-20 ปี                  12       44.4    ระดับมาก ร้อยละ 4.40 มีความพึงพอใจโดยรวมต่อ
             21-23 ปี                  15       55.6
             24-26 ปี                   0        0      ผลิตภัณฑ์ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ
             สถานภาพปัจจุบัน                            4.55 ดังแสดงในตารางที่ 5 สำาหรับรูปแบบบรรจุภัณฑ์
             โสด                       27       100     ที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม
             สมรส                       0        0      พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความชอบบรรจุภัณฑ์แบบที่ 1
             หม้าย/หย่า/แยกกันอยู่      0        0      ร้อยละ 44.4 บรรจุภัณฑ์แบบที่ 2 ร้อยละ 37.0 บรรจุ
             สาขาวิชา
             สาธารณสุขศาสตร์           16       59.3    ภัณฑ์แบบที่ 3 ร้อยละ 18.5 (ภาพที่ 1)
             วิทยาศาสตร์การกีฬา         7       25.9                  อภิปร�ยผล
             อาชีวอนามัยและความปลอดภัย   4      14.8
             ชั้นปีการศึกษา                                  จากผลการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของ
             ปี 1                       5       18.5    ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม พบว่า
             ปี 2                       7       25.9    ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายที่มีคุณสมบัติทางกายภาพ
             ปี 3                      15       55.6    ที่เหมาะสมที่สุด คือ สูตรที่ 2 มีส่วนประกอบของ
             การใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวจากสมุนไพร
             ไม่เคยใช้                 27      100.0    สารสำาคัญเนื้อเมล็ดมะขามร้อยละ 5 โดยเนื้อครีมมี
                                                                                            ้
             เคยใช้ โปรดระบุประเภท/ยี่ห้อ   0    0      ลักษณะเนียน หนืดปานกลาง สีเทา กลิ่นหอมนำานม
             ของผลิตภัณฑ์                               ข้าว ไม่มีสิ่งแปลกปลอม ซึ่งสูตรดังกล่าวมีคุณสมบัติ




            ตารางที่ 4  ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความชุ่มชื้นของผิวหนังก่อนใช้และหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจาก
                     เนื้อเมล็ดมะขามของกลุ่มตัวอย่าง จำานวน 27 คน
                                                 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความชุ่มชื้นของผิวหนัง
             สิ่งที่ประเมิน                      ก่อนใช้และหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม

                                               N                Mean ± S.D.             p-value

             ความชุ่มชื้นของผิวหนังก่อนใช้และหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม
             ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์                 27               41.98 ± 5.38              < 0.05
             หลังใช้ผลิตภัณฑ์                 27               56.02 ± 6.84
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166