Page 160 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 160

142 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




                ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบ     อนามัยและความปลอดภัย ร้อยละ 14.8 ชั้นปีที่ 1
           สอบถาม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีจำานวน 27 คน เป็น  ร้อยละ 18.5 ชั้นปีที่ 2 ร้อยละ 25.9 ชั้นปีที่ 3 ร้อยละ

           ผู้เข้าร่วมวิจัยเพศชาย ร้อยละ 18.5 เพศหญิงร้อยละ    55.6 ไม่เคยใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวจากสมุนไพรร้อยละ
           81.5 โดยทุกคนอยู่ตลอดการทดลองของการวิจัย    100 ดังแสดงในตารางที่ 3
           อายุ 18-20 ปี ร้อยละ 44.4 อายุ 21-23 ปี ร้อยละ      ผลการประเมินความชุ่มชื้นของผู้เข้าร่วมวิจัย

           55.6 สถานภาพปัจจุบันโสด ร้อยละ 100 ระดับการ  พบว่า ก่อนใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด
           ศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาการสุขภาพและการ      มะขาม มีค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ
           กีฬา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ร้อยละ 59.3 สาขา  41.98 ± 5.38 และหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอกผิวกาย

           วิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา ร้อยละ 25.9 สาขาวิชาอาชีว-  จากเนื้อเมล็ดมะขาม มีค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
                                                       มาตรฐาน เท่ากับ 56.02 ± 6.84 โดยผู้เข้าร่วมวิจัยมี
                                                       ความชุ่มชื้นของผิวหนังเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทาง

                                                       สถิติ (p < 0.05) ดังแสดงในตารางที่ 4 ผลการทดสอบ
                                                       การระคายเคืองของผิวหนังหลังใช้ผลิตภัณฑ์พอก

                                                       ผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยไม่มี
                                                       อาการ ระคายเคือง ไม่มีรอยแดง ร้อยละ 100 คิดเป็น
                                                       ดัชนีความระคายเคืองได้เท่ากับ 0

                                                           ผลการทดสอบความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
                                                       วิจัย พบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความพึงพอใจต่อสีของ

                                                       ผลิตภัณฑ์ในระดับมาก ร้อยละ 4.22 มีความพึงพอใจ
                                                       ต่อลักษณะ เนื้อครีมของผลิตภัณฑ์ในระดับมาก
           ภาพที่ 3 ลักษณะผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด  ร้อยละ 4.18 มีความพึงพอใจต่อกลิ่นของผลิตภัณฑ์
                   มะขาม                               ในระดับมาก ร้อยละ 4.48 มีความพึงพอใจต่อ




           ตารางที่ 2  ผลการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม

                                                          สูตรต�ารับ
              คุณสมบัติ
                                  สูตรที่ 1       สูตรที่ 2        สูตรที่ 3        สูตรที่ 4

            1. ลักษณะทั่วไป     มีลักษณะเนียน   มีลักษณะเนียน    มีลักษณะเนียน    มีลักษณะเนียน
                                และหนืดมาก     และหนืดปานกลาง   และหนืดเล็กน้อย     และเหลว
            2. สี                  สีเทา           สีเทา             สีเทา            สีเทา
            3. กลิ่น          กลิ่นหอมนำ้านมข้าว   กลิ่นหอมนำ้านมข้าว   กลิ่นหอมนำ้านมข้าว   กลิ่นหอมนำ้านมข้าว
            4. สิ่งแปลกปลอม   ไม่มีสิ่งแปลกปลอม   ไม่มีสิ่งแปลกปลอม   ไม่มีสิ่งแปลกปลอม   ไม่มีสิ่งแปลกปลอม
            5. ค่า pH              7 ± 0           7 ± 0            7 ± 0            7 ± 0
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165