Page 157 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 157
J Thai Trad Alt Med Vol. 19 No. 1 Jan-Apr 2021 139
ตารางที่ 1 สูตรผลิตภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม โดยใช้เนื้อเมล็ดมะขามเป็นปริมาณร้อยละ 3, 5, 7 และ
10 (w/w)
ส่วนประกอบ สูตร 1 สูตร 2 สูตร 3 สูตร 4 หน้าที่ของสาร
ส่วนที่ 1 วัฏภาคน�้า
methyl paraben 0.1 0.1 0.1 0.1 สารกันเสีย
propyl paraben 0.02 0.02 0.02 0.02 สารกันเสีย
sodium lauryl ether sulfate 1 1 1 1 สารทำาอิมัลชัน
titanium dioxide 1 1 1 1 สารกันแดด
propylene glycol 2 2 2 2 สารเพิ่มความชุ่มชื้น
glycerine 10 10 10 10 สารเพิ่มความชุ่มชื้น
water 32.68 30.68 28.68 25.68 ตัวทำาละลาย
ส่วนที่ 2 วัฏภาคน�้ามัน
zinc oxide 1 1 1 1 สารกันแดด
stearyl alcohol 4 4 4 4 สารทำาให้นุ่มและชุ่มชื้น
ส่วนที่ 3
perfume 0.2 0.2 0.2 0.2 สารแต่งกลิ่น
เนื้อเมล็ดมะขาม 3 5 7 10 สารเพิ่มความชุ่มชื้น
และยืดหยุ่น
kaolin 45 45 45 45 ดูดซับสิ่งสกปรก
รวม 100 100 100 100
รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 รูปแบบที่ 3
ภาพที่ 1 บรรจุภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ดมะขาม
่
ลักษณะทั่วไป ต้องมีสีสมำาเสมอ ไม่มีสิ่งแปลกปลอม 4.2 การทดสอบความเป็นกรด-เบส โดยนำา
้
และกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ เช่น กลิ่นอับ กลิ่นหืน ผลิตภัณฑ์พอกผิวกาย จำานวน 1 กรัม เติมนำากลั่น
กลิ่นบูด กรณีเป็นครีมหรือของเหลวข้นต้องเป็นเนื้อ 100 มิลลิลิตร คนให้เข้ากัน ใช้กระดาษลิตมัสวัดค่า
เดียวกัน ไม่แยกชั้น ไม่ตกตะกอน กรณีเป็นผงต้อง ความเป็นกรด-เบส
ไม่จับตัวเป็นก้อน การทดสอบให้ทำาโดยการตรวจพินิจ 5. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์
และดม พัฒนาบรรจุภัณฑ์พอกผิวกายจากเนื้อเมล็ด