Page 78 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 78
300 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
การเสื่อม ได้แก่ ข้อเข่า สะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง ลูกประคบสมุนไพรไทยมีแนวโน้มลดอาการปวดได้
และข้อเท้า แต่ข้อซึ่งส่งผลกระทบรุนแรงต่อการเจ็บ มากกว่าการรักษาอื่น ๆ ตลอดจนสามารถเพิ่มการทำา
[8]
[3-4]
ป่วยและการรับบริการมากที่สุดคือ ข้อเข่า สภาวะ กิจกรรมในชีวิตประจำาวันให้ดีขึ้น สมุนไพรที่ใช้ใน
การเกิดพยาธิสภาพของข้อเข่าเสื่อมมีการบำาบัดแบบ การทำาลูกประคบมักมีส่วนประกอบแตกต่างกันเล็ก
วิธีการมาตรฐานได้แก่ การผ่าตัดข้อเข่าเทียม หรือ น้อย อย่างไรก็ตามมักมีส่วนผสมหลัก คือ ไพล ขมิ้น
[5]
การรักษาด้วยการกินและการทายาแก้ปวดข้อ ซึ่ง และการบูร ผสมรวมกับสมุนไพรอื่น ๆ ที่หาได้ง่าย
[7]
มีผลกระทบคืออาจทำาให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น มี ตามแต่ละท้องถิ่น จากการศึกษามีการนำาแนวทางใน
ภาวะปวดเรื้อรัง ผลแทรกซ้อนจากการใช้ยา การติด การรักษาทางเลือกแก่ผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อม ด้วยวิธีการ
เชื้อ หรือ การฟื้นหายของบาดแผลที่ยาวนาน หรือ ประคบสมุนไพร คือ ไพล ซึ่งมีฤทธิ์ลดการบวมอักเสบ
การบำาบัดหลังการรักษาที่ยาวนาน เป็นต้น ทำาให้มี และอาการปวดได้โดยใช้ร่วมกับการบูรที่มีฤทธิ์ในการ
การบำาบัดแบบไม่ใช้ยาโดยการให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ลดอาการปวด อาการอักเสบ รวมถึงเกลือที่ช่วยดูด
และญาติผู้ป่วยหรือผู้ดูแล ในเรื่องปัจจัยเสี่ยงในการ ความร้อน และนำาตัวยาซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกายให้
้
เกิดโรค การดำาเนินโรค การลดนำาหนัก กายภาพบำาบัด ดียิ่งขึ้น ความร้อนที่ซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายได้เมื่อทำาการ
[9]
และกิจกรรมบำาบัดและการบริหารร่างกายโดยใช้การ ประคบเป็นเวลา 15-30 นาทีขึ้นไป
แพทย์แบบเสริม (complementary therapy) เป็น รายงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่ามีการนำาแนวทาง
ทางเลือกในการบำาบัด โดยเฉพาะโรคข้อเข่าเสื่อมระยะ เลือกที่นำามาใช้รักษาผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ด้วยใช้
เริ่มต้น (primary knee osteoarthritis) ซึ่งเป็นชนิด สมุนไพรบรรเทาอาการปวดข้อ ได้แก่ การใช้ไพล
ที่มีผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงอยู่ในชุมชนเป็นจำานวนมาก [6] (Zinggiber cassumunar Roxb.) รายงานวิจัยแสดง
การประคบร้อนนับว่าเป็นวิธีการอีกทางเลือกหนึ่ง ให้เห็นว่าการใช้ไพลสามารถบรรเทาอาการปวด โดย
ของการดูแลรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมโดยใช้ลูกประคบ พบว่าไพลมีสรรพคุณในการบรรเทาอาการปวด ซึ่งมีสาร
[10]
สมุนไพรไทย (Thai herbal compress ball) ซึ่งมี สำาคัญในการออกฤทธิ์ คือสาร cassumunarins
[11]
ลักษณะเป็นผ้าห่อด้วยสมุนไพรไทยชนิดต่าง ๆ มี สาร (E)-4 (3’,4’-dimethylphenyl) but-3-en-l-ol
สรรพคุณช่วยลดอาการปวดกล้ามเนื้อ หรือข้อต่อ มีฤทธิ์แก้ปวด และเถาวัลย์เปรียง (Derris scan-
ต่าง ๆ และสามารถยับยั้งสัญญาณความเจ็บปวด dens Roxb) มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดด้วย
ช่วยบรรเทาความรู้สึกปวดให้น้อยลง โดยต้องนำาลูก เช่นกัน ตามตำาราไทยได้ระบุว่า เถาวัลย์เปรียงส่วน
ประคบนึ่งให้ร้อนนาน 15-20 นาที ก่อนนำาไปใช้งาน เถาและรากมีสรรพคุณแก้เส้นเอ็นพิการ ปวดเมื่อย
เพื่อให้เกิดการนำาความร้อนไปยังบริเวณที่ต้องการ ตามร่างกาย แก้บิด แก้ไอ แก้หวัด ขับปัสสาวะ และ
[7]
[12]
รักษา มีการนำาลูกประคบสมุนไพรไทยมาใช้ทาง แก้กระษัย มีสารสำาคัญที่ออกฤทธิ์คือสารกลุ่ม
คลินิกบ่อยครั้ง Chiranthanut และคณะได้เปรียบ isoflavones และ isoflavone glycosides ในส่วน
เทียบผลการรักษาระหว่าง การประคบด้วยลูกประคบ เถาของต้นเถาวัลย์เปรียง เช่น genistein, genistein
สมุนไพรไทย การนวดไทย (Thai massage) และการ 7-O-α-rhamno (1-->6)-β-glucosyl glycoside,
ใช้ยาแก้ปวด Ibuprofen ในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม พบว่า 3′-γ, γ-dimethylallyl weighteone, scandenin