Page 80 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 80

302 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           ร้อนอีกครั้ง นำาลูกประคบสมุนไพรไพล ประคบให้  ปวดในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ในกลุ่มตัวอย่างต่อไป
           กลุ่มทดลอง 1 (ประคบสมุนไพรไพล) ประคบ วันละ

           2 ครั้ง เช้า เย็น ประคบวันเว้นวัน จนครบ 7 วัน   วิธีก�รศึกษ�
                2) ลูกประคบสมุนไพรเถาวัลย์เปรียง โดยเตรียม     การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi
           เถาวัลย์เปรียง จากตำาบลบางคล้า อำาเภอบางคล้า  experimental research) โดยกลุ่มประชากรเป็นผู้

           จังหวัดฉะเชิงเทรา จำานวน 50 กิโลกรัม นำามาหั่นบด  ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมจากแพทย์
           หยาบใส่การบูรและเกลือ ห่อด้วยผ้าสี่เหลี่ยมขนาด   แผนปัจจุบันที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลพุทธ
           50 × 50 ซม. ทำาเป็นลูกประคบขนาด 150 กรัม โดย  มณฑล จังหวัดนครปฐม ทั้งเพศชาย และเพศหญิง

           ใช้เถาวัลย์เปรียงหนัก 140 กรัม การบูรและเกลือ   โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
           อย่างละ 5 กรัม ไปผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 45 องศา     1) ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
           เซลเซียส เป็นเวลา 15-30 นาที โดยการนึ่งแล้วนำาไป  ระดับ 2 และ 3 โดยคัดกรองจากการทำาแบบประเมิน

           วางทาบผิวหนังบริเวณข้อเข่าข้างที่มีอาการ เป็นระยะ  ระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee
           เวลาติดต่อกัน นาน 30-45 นาที จะทำาให้อุณหภูมิ  Score)

           บริเวณผิวหนังสูงขึ้นไปที่ประมาณ 40-45 องศา      2) ไม่มีแผนการรักษาทางศัลยกรรมเปลี่ยนข้อ
           เซลเซียส และเปลี่ยนลูกประคบทุก 5-10 นาที หลัง  เข่า
           ใช้แล้วนำาไปนึ่งผ่านความร้อนอีกครั้ง นำาลูกประคบ     3) ไม่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการรับรู้ความรู้สึก

           สมุนไพรเถาวัลย์เปรียง ประคบให้กลุ่มทดลอง 2   จากโรคเบาหวาน
           (ประคบสมุนไพรเถาวัลย์เปรียง) ประคบวันละ 2 ครั้ง      4) ไม่มีแผลเปิดที่บริเวณข้อเข่า

           เช้า เย็น ประคบวันเว้นวัน จนครบ 7 วัน           5) มีประวัติการรักษาอยู่ในเวชระเบียนรักษาโรค
                3) ลูกประคบหลอก เตรียมโดยใช้ผ้าขนหนู ห่อ  ทั่วไปในสถานพยาบาล และหยุดใช้ยาหรือหยุดรักษา
                                                                        ่
           ด้วยผ้าสี่เหลี่ยมขนาด 50 × 50 ซม.ทำาเป็นลูกประคบ   ทุกรูปแบบมาแล้วไม่ตำากว่า 1-3 ปี
           นำาไปผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส เป็น     6) ไม่เป็นโรคประจำาตัว เช่น เกาต์ รูมาตอยด์
           เวลา 15-30 นาที โดยการนึ่งแล้วนำาไปวางทาบผิวหนัง  เบาหวาน
           บริเวณข้อเข่าข้างที่มีอาการ เป็นระยะเวลาติดต่อกัน      7) มีดัชนีมวลกายระหว่าง 18.8-29.9 กิโลกรัม

           นาน 30-45 นาที จะทำาให้อุณหภูมิบริเวณผิวหนังสูง  ต่อตารางเมตร หรือ กก./ม. 2
           ขึ้นไปที่ประมาณ 40-45 องศาเซลเซียส และเปลี่ยน     8) ผู้ป่วยอายุ 40-65 ปี
           ลูกประคบทุก 5-10 นาที หลังใช้แล้วนำาไปนึ่งผ่าน     การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย (simple

           ความร้อนอีกครั้ง นำาลูกประคบสมุนไพรหลอก กลุ่ม  random sampling) โดยการจับสลาก แล้วจับคู่
           ควบคุม (ประคบสมุนไพรหลอก) ประคบ วันละ 2     ตัวแปรสำาคัญ เพื่อป้องกันตัวแปรแทรกซ้อนที่อาจ

           ครั้ง เช้า เย็น ประคบวันเว้นวัน จนครบ 7 วัน นำาผล  เกิดขึ้น และควบคุมให้ทั้งสองกลุ่มให้มีคุณสมบัติ
           มาศึกษาวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลของการใช้ลูก  เหมือนกัน และหรือใกล้เคียงกันมากที่สุด ในด้าน
           ประคบไพลและลูกประคบเถาวัลย์เปรียง ต่ออาการ  เพศ อายุ อาชีพ ดัชนีมวลกาย และระดับความรุนแรง
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85