Page 82 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 82
304 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลรวมค่าเฉลี่ยองศาการเคลื่อนไหวข้อเข่าในการประคบก่อนและหลังของกลุ่มลูกประคบ
ไพล ลูกประคบเถาวัลย์เปรียงและกลุ่มควบคุม
กลุ่ม pre- post- ผลต่าง P1 เปรียบเทียบรายคู่ P2
ไพล 117.60 ± 8.15 128.95 ± 7.80 11.35 ± 0.35 0.00* ไพล-เถาวัลย์เปรียง 0.06
เถาวัลย์เปรียง 113.50 ± 8.15 123.15 ± 7.80 9.65 ± 0.35 0.00* เถาวัลย์เปรียง-ควบคุม 0.39
ควบคุม 114.60 ± 0.41 120.40 ± 0.60 5.80 ± 0.19 0.00* ไพล-ควบคุม 0.01
*p < 0.05
P1 หมายถึง การเปรียบเทียบความแตกต่างก่อนและหลังภายในกลุ่มการควบคุม
P2 หมายถึง การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มการทดลอง
= 128.95 ± 7.80 คะแนนเพิ่มขึ้น = 11.35 ± 0.35 โรคแล้วหลายชั่วรุ่น โดยมีความเชื่อว่าผลของการ
โดยมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ p < รักษาด้วยการประคบสมุนไพรที่เห็นผลการรักษาที่
0.00 กลุ่มประคบเถาวัลย์เปรียงมีคะแนนองศาการ ชัดเจนส่วนหนึ่งน่าจะมาจากการที่ความร้อนจากการ
เคลื่อนไหวก่อนการทดลอง = 113.50 ± 8.15 ภาย นึ่งลูกประคบที่ประกอบด้วยตำารับยาสมุนไพรที่มี
หลังการทดลอง = 123.15 ± 7.80 คะแนนเพิ่มขึ้น = ฤทธิ์ในการรักษา เมื่อนำาไปประคบบริเวณที่มีพยาธิ
9.65 ± 0.35 โดยมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทาง สภาพ ความร้อนที่ส่งผ่านพร้อมตัวยามีการซึมผ่าน
สถิติที่ p < 0.00 และกลุ่มควบคุมมีคะแนนองศาการ ชั้นผิวหนังที่มีพยาธิสภาพ ทำาให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัว
เคลื่อนไหวก่อนการทดลอง = 114.60 ± 0.41 ภายหลัง ออก ลดการติดขัดของข้อต่อ ลดปวดได้ แต่กลไก
การทดลอง = 120.40 ± 0.60 คะแนนเพิ่มขึ้น = 5.80 การบรรเทาพยาธิสภาพนี้ไม่ได้มาจากความร้อน
± 0.19 โดยมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ เพียงอย่างเดียว เนื่องจากมีหลาย ๆ งานวิจัยที่ผ่าน
ที่ p < 0.00 เปรียบเทียบรายคู่หลังการทดลองระหว่าง มา ทดสอบเกี่ยวกับการบรรเทาพยาธิสภาพเหล่านี้
กลุ่มประคบไพลและกลุ่มประคบเถาวัลย์เปรียงพบ พบว่าความร้อนเพียงอย่างเดียวไม่ทำาให้พยาธิสภาพ
ว่าค่า p = 0.06 โดยไม่แตกต่างกัน และกลุ่มประคบ ในโรคเหล่านี้ดีขึ้นกว่าเดิม เช่น งานวิจัยของพะยอม
เถาวัลย์เปรียงและกลุ่มควบคุมพบว่าค่า p = 0.39 ซึ่ง สุวรรณ และคณะ ได้ศึกษาวิจัยเรื่องผลของการ
ไม่แตกต่างกัน ส่วนกลุ่มควบคุมกับกลุ่มไพลพบว่ามี ประคบร้อนสมุนไพรต่ออาการปวดข้อ ข้อฝืด และ
ค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ p < 0.01 ความลำาบากในการทำากิจกรรมในผู้ป่วยโรคข้อเข่า
เสื่อม พบว่าอาการปวดข้อ ข้อฝืด และ ความลำาบาก
อภิปร�ยผล ในการทำากิจกรรมหลังการประคบสมุนไพรครบ 7 วัน
การประคบร้อนและการประคบสมุนไพรเป็นวิธี และหลังจากวันหยุดการประคบ 7 วัน น้อยกว่าก่อนได้
การบำาบัดรักษาอาการปวด เส้นเอ็นยึด กระษัยเส้นใน รับการประคบร้อนด้วยสมุนไพรอย่างมีนัยสำาคัญทาง
[16]
ทางการแพทย์แผนไทยอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งมีการบันทึกเป็น สถิติ จึงทำาให้เชื่อได้ว่าผลของการรักษาน่าจะมาจาก
ตำาราที่ใช้สรรพคุณจากยาสมุนไพรมาเป็นตำารับรักษา การออกฤทธิ์ของตัวยาหลังได้รับความร้อน ซึ่งกลไก