Page 83 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 83

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  305



                                                         ้
            การรักษานี้ยังไม่ทราบแน่ชัด ในการศึกษาวิจัยนี้ได้มี  นำา ขนาด 0.5, 1 และ 2 มก. มีฤทธิ์ลดการปวดและ
                                                                                 [17]
            การนำาสมุนไพรไทยมาทำาเป็นลูกประคบทดสอบการ   บวมได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ  นอกจากนั้นผล
            บรรเทาอาการปวด และการทำาให้พยาธิสภาพของกลุ่ม  การวิจัยยังสอดคล้องกับการศึกษาการใช้ไพลในการ
            ข้อเข่าเสื่อมดีขึ้น โดยวัดจากองศาของการเคลื่อนไหว  บรรเทาอาการอักเสบ โดยพบว่าไพลมีองค์ประกอบ
            ที่มากขึ้นกว่าเดิม โดยตัวยาสมุนไพรที่นำามาทดสอบ  ทางเคมีที่มีสารสำาคัญในการลดการอักเสบคือ

            มีอยู่สองชนิดคือ ไพล และเถาวัลย์เปรียง จากผล  เคอร์คิวมิน มีงานวิจัยทางคลินิกของ Manimmana-
                                                                            ้
            การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการประคบสมุนไพรด้วย  korn โดยครีมไพลซึ่งมีนำามันหอมระเหยเป็นส่วน
            ลูกประคบทั้งสองชนิดนี้ สามารถลดอาการปวด และ  ประกอบ 56 ส่วน (14%) พบว่าเมื่อใช้ทาภายนอก

            ทำาให้พยาธิสภาพของโรคข้อเข่าเสื่อมดีขึ้นได้มากกว่า  สามารถลดอาการปวดบวมในผู้ป่วยข้อเท้าแพลง
            ลูกประคบธรรมดาที่เป็นกลุ่มควบคุม โดยการเปรียบ  โดยใช้ทาวันละสองครั้ง สามารถลดการปวดบวม
            เทียบคะแนนความปวดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม  ได้มากกว่ากลุ่มควบคุมเมื่อใช้ไปได้ 4 วัน และผู้เข้า

            ควบคุมพบว่าแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p <   ร่วมวิจัยมีการกินยาแก้ปวด (paracetamol) ในสอง
            0.05) และมีองศาการเคลื่อนไหวของข้อเข่าก่อนและ  วันแรกน้อยกว่ากลุ่มควบคุม รวมทั้งผู้เข้าร่วมวิจัย

            หลังการประคบของสมุนไพรทั้งสองชนิดมีความแตก  ที่ได้รับไพลจีซาล สามารถงอข้อเท้าได้มากกว่ากลุ่ม
            ต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่  ควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญ รวมทั้งมีการศึกษาของ
                                                                           [18]
            เป็นลูกประคบไม่มีสมุนไพร (p < 0.05) นอกจากนี้  สุรัติ เล็กอุทัย และคณะ พบว่าการประคบสมุนไพร

            พบว่าเมื่อเปรียบเทียบคะแนนความปวดระหว่างกลุ่ม  เพื่อบรรเทาอาการปวดกระดูก ข้อเข่าเสื่อมอักเสบใน
            ที่ประคบด้วยลูกประคบเถาวัลย์เปรียงและกลุ่มลูก  กลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน ที่ประกอบด้วย

            ประคบไพลภายหลังการทดลองพบว่า คะแนนความ      กลุ่มที่ประคบร้อนสมุนไพร, ประคบร้อน และบริหาร
            ปวดที่ได้ไม่แตกต่างกัน จากการค้นคว้าข้อมูลการ  ข้อเข่า พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาทั้ง 3 กลุ่ม มี
            ศึกษาที่ผ่านมาพบว่าเถาวัลย์เปรียงจัดเป็นสมุนไพร  อาการปวดเข่า และมีความลำาบากในการทำากิจกรรม

            ในรายการบัญชียาหลักแห่งชาติที่ใช้ภายในร่างกายใน  ลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 [9]
            กลุ่มยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อ และกระดูก มี
            ข้อบ่งใช้สำาหรับบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดการ              ข้อสรุป

            อักเสบของกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการปวดหลังส่วน       ผลจากการศึกษาในครั้งนี้สนับสนุนในการใช้
            ล่าง (low back pain) และอาการปวดจากข้อเข่า  สมุนไพรเป็นตัวเลือกในการบรรเทาอาการปวด และ

            เสื่อม (knee osteoarthritis)ซึ่งผลการศึกษาวิจัยใน  ลดความรุนแรงของโรคได้โดยอาจไม่จำาเป็นต้องพึ่งยา
            ครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของรวิพร วิบูลย์กิจวรกุล   รับประทานหรือการผ่าตัด ซึ่งอาจทำาให้สุขภาพทั้งทาง
            และ ณัฏฐภัทร์ภร เพ็งโตวงษ์ ที่พบว่าฤทธิ์ลดอาการ  ร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยดีขึ้นมาได้ รวมทั้งเป็นการ

            อักเสบของสารสกัดจากเถาวัลย์เปรียงที่ทาภายนอก  ใช้ทรัพยากรภายในประเทศที่มีอยู่ตามธรรมชาติให้
            ใบหูหนูแรทที่สกัดด้วย 50% เอทานอลและสกัดด้วย  เกิดประโยชน์สูงสุด ลดภาระค่าใช้จ่ายของภาครัฐได้
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88