Page 81 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 81
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 303
ของโรคข้อเข่าเสื่อม (Oxford Knee Score) กลุ่ม ความปวดของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมกลุ่มประคบไพล
ตัวอย่างเป็นผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมจำานวน 60 คน ใช้สูตร มีค่าเฉลี่ย คะแนนความปวดก่อนการทดลอง = 5.55
Krejcie and Morgan ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างกลุ่ม ± 0.95 ภายหลังการทดลอง = 2.95 ± 0.69 คะแนน
ละ 20 คน รวมขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 60 คน ลดลง = 2.6 ± 0.26 โดยมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัย
หลังจากนั้นแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คน คือ สำาคัญทางสถิติที่ p < 0.00 กลุ่มประคบเถาวัลย์เปรียง
กลุ่มควบคุม ได้รับการประคบหลอกโดยใช้ผ้า กลุ่ม มีคะแนนความปวดก่อนการทดลอง = 7.25 ± 1.25
ทดลอง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มลูกประคบเถาวัลย์เปรียง ภายหลังการทดลอง = 2.80 ± 0.95 คะแนนลดลง
และกลุ่มลูกประคบไพล ทำาการวัดผลก่อนหลังและ = 4.45 ± 0.3 โดยมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ
หลังเปรียบเทียบค่าคะแนนความปวดและองศาการ ทางสถิติที่ p < 0.00 และกลุ่มควบคุมมีคะแนนความ
เคลื่อนไหวของเข่าของตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่ม หลังได้รับ ปวดก่อนการทดลอง = 6.25 ± 0.31 ภายหลังการ
การประคบสมุนไพร 7 วัน โดยได้ผ่านการพิจารณา ทดลอง = 4.05 ± 0.31 คะแนนลดลง = 2.2 ± 0.00
อนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ p <
โรงพยาบาลนครปฐม โครงการเลขที่ 001/2017 การ 0.00 เปรียบเทียบรายคู่หลังการทดลองระหว่างกลุ่ม
วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ใช้สถิติเชิงพรรณนา จำานวน ประคบไพลและกลุ่มประคบเถาวัลย์เปรียงพบว่าค่า p
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ = 0.41 โดยไม่แตกต่างกัน กลุ่มประคบเถาวัลย์เปรียง
เปรียบเทียบข้อมูลภายในแต่ละกลุ่ม ด้วยสถิติ pair และกลุ่มควบคุมพบว่าค่า p = 0.004 โดยแตกต่างกัน
t-test การวิเคราะห์ข้อมูลระหว่างกลุ่ม ด้วยใช้สถิติ อย่างมีนัยสำาคัญ และกลุ่มควบคุมกับกลุ่มไพลพบว่า
ANOVA ค่า p = 0.000 โดยมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ
จากตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย
ผลก�รศึกษ� คะแนนองศาการเคลื่อนไหวข้อเข่าก่อน และหลัง
จากตารางที่ 1 ผลการทดลองพบว่าไม่พบผู้ป่วย การประคบของกลุ่มประคบไพล ผลการทดลอง พบ
ที่หายจากอาการปวดทั้ง 3 กลุ่ม แต่ค่าคะแนนความ ว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนองศาการเคลื่อนไหวข้อเข่าก่อน
ปวดโดยเฉลี่ยมีค่าลดลง ซึ่งพบว่าค่าเฉลี่ยคะแนน การทดลอง = 117.60 ± 8.15 ภายหลังการทดลอง
ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดในการประคบก่อนและหลังของกลุ่มลูกประคบไพล ลูกประคบ
เถาวัลย์เปรียง และกลุ่มควบคุม
กลุ่ม pre- post- ผลต่าง P1 เปรียบเทียบรายคู่ P2
ไพล 5.55 ± 0.95 2.95 ± 0.69 2.6 ± 0.26 0.00* ไพล-เถาวัลย์เปรียง 0.41
เถาวัลย์เปรียง 7.25 ± 1.25 2.80 ± 0.95 4.45 ± 0.3 0.00* เถาวัลย์เปรียง-ควบคุม 0.00
ควบคุม 6.25 ± 0.31 4.05 ± 0.31 2.2 ± 0.00 0.00* ไพล-ควบคุม 0.00
*p < 0.05
P1 หมายถึง การเปรียบเทียบความแตกต่างก่อนและหลังภายในกลุ่มการควบคุม
P2 หมายถึง การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มการทดลอง