Page 191 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 191
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 413
จากการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการ ซื้อผลผลิตเหล่านี้จากแหล่งผลิต เช่น อบเชยจากทาง
ปลูกสมุนไพรของกลุ่มเกษตรกรบ้านหนองสุวรรณ ภาคใต้ โดยรับซื้อมาเป็นคันรถไม่ได้มีกระบวนการคัด
ตำาบลบ้านกลาง อำาเภอสอง จังหวัดแพร่ พบว่ากลุ่ม คุณภาพด้วยมีปริมาณมาก
เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรบ้านหนองสุวรรณ ตำาบลบ้าน พัฒนาการซื้อสมุนไพรมีการเปลี่ยนแปลง ด้วย
กลาง อำาเภอสอง จังหวัดแพร่ มีรายได้รวมจากการ ภายหลังมีการใช้สมุนไพรกว้างขวางขึ้น และมีการ
ปลูกสมุนไพรเป็นอาชีพเสริม และรายได้หลักเพียง ควบคุมคุณภาพมากขึ้น การรับซื้อเริ่มมีการตรวจ
พอ มีค่าใช้จ่ายที่สามารถประหยัดได้และสามารถดำารง คุณภาพมากขึ้น โดยในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่ธุรกิจส่งต่อ
ชีพอยู่ได้ โดยพบว่าหากมีการทำาความร่วมมือระหว่าง มายังรุ่นลูก เริ่มมีการเลือกชนิดสมุนไพรที่ต้องการ
โรงพยาบาลและกลุ่มเกษตรกรจะทำาให้การบริหาร มาก เช่น ขมิ้น เน้นคุณภาพของผลผลิตมากขึ้นทำาให้
จัดการในโซ่อุปทานสมุนไพรมีความยั่งยืน [8] เกิดการพัฒนาธุรกิจต่อไปยังรุ่นหลานอีกครั้ง มีการ
จากการศึกษาปัญหาพบว่าการผลิตยังขาดการ ควบคุมคุณภาพตั้งแต่ขั้นตอนแรกของการผลิตคือใน
จัดระบบการผลิตที่ดี การขาดการวิจัยพัฒนาสาย แปลงปลูกโดยตรง ในยุคนี้ผู้ประกอบการจะมีการคัด
พันธุ์ และปัญหาโรครากเน่า ส่วนด้านการแปรรูปบาง เลือกเกษตรกรเข้าร่วมทำาธุรกิจกับบริษัทโดยทำาการ
แห่งยังผลิตไม่ได้มาตรฐาน ขาดการนำาเทคโนโลยีใหม่ ส่งเสริมเกษตรกร มีการให้ความรู้ การอบรม วิธีการ
มาใช้ ในส่วนการตลาดมีการขาดแคลนตลาดรับซื้อ ปลูกดูแลเก็บเกี่ยวให้ได้คุณภาพ และมีการตกลง
ผลผลิต ความต้องการของตลาดไม่แน่นอน มีข้อเสนอ ราคากันเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรที่ร่วม
แนะให้รัฐบาลจัดทำาระบบการผลิตที่เหมาะสม พร้อม โครงการ ดังคำาบอกเล่าของผู้ประกอบการตามกรอบ
การถ่ายทอดความรู้ และการรับรองระบบ เร่งรัดการ ที่ 2
วิจัยพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ จัดทำามาตรฐานการปฏิบัติ 2.2 ก�รจัดก�รสุขภ�พชุมชนด้วยก�รแพทย์
ในการแปรรูป สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้กับกลุ่ม แผนไทย กรณีศึกษ�โรงพย�บ�ลห้วยพลู
เกษตรกร การประชาสัมพันธ์เพื่อการขยายการตลาด การให้บริการของการแพทย์แผนไทย โรง-
มากขึ้น เป็นต้น [8] พยาบาลห้วยพลู มีการให้บริการด้านแพทย์แผน
2.1 คว�มเป็นม�ของธุรกิจสมุนไพรในจังหวัด ไทยแบบครบวงจรประกอบด้วย 4 สาขา ได้แก่ สาขา
นครปฐม เวชกรรมไทย สาขาการนวดไทย สาขาผดุงครรภ์ไทย
จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการรายหนึ่งใน และสาขาเภสัชกรรมไทย
จังหวัดนครปฐมที่มีการสืบทอดธุรกิจด้านสมุนไพร หัวหน้ากลุ่มงานการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาล
มาต่อเนื่องนับถึงสามชั่วอายุตั้งแต่รุ่นปู่ รุ่นลูก จน ห้วยพลูได้ให้ข้อมูลว่าในจังหวัดนครปฐมเป็นจังหวัด
มาถึงรุ่นหลาน พบว่าธุรกิจสมุนไพรมีการพัฒนามา แรก ๆ ที่มีการเริ่มต้นการแพทย์แผนไทย โดยโรง
จากการเป็นพ่อค้าคนกลาง รวบรวมผลผลิตทางการ พยาบาลห้วยพลูจะเน้นระบบการบริการกับการเป็น
เกษตร โดยส่วนหนึ่งนั้นคือจำาพวกสมุนไพรจากป่าที่ ศูนย์ฝึกอบรม ดังคำากล่าวต่อไปนี้
ยังมีอยู่มากในธรรมชาติสมัยนั้น เช่น สมอไทย หรือ “...จ.นครปฐม เราก็เป็นหน่วยงานที่เป็นหน่วย
อบเชย โดยผู้ประกอบการจะมีรถบรรทุกสิบล้อไปรับ งานแรก ๆ ที่ตั้งต้นการแพทย์แผนไทย...’’