Page 193 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 193

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  415




                 “…ถ้าสมมติว่ากระชายเน่า หรือขมิ้นเน่าเราก็ยัง  ก็ต้องใช้เขา (ตนในพื้นที่) คือเขาอาชีพรับจ้าง รับจ้าง
            มีผักตรงนี้เข้ามาเสริม’’                    อย่างเดียวครับ วันหนึ่งก็ตก 300-400 บาทนะ ขุดคิด

                 “เราได้รายได้ จากสมุนไพร ประมาณ 20-30%   เป็นกิโลค่ะ ใช้ขุดเอาค่ะไม่ได้ฉีดเหมือนกระชาย’’
            ถ้ามันไม่เน่า ถ้ามันไม่เสียหาย มันก็ได้เยอะ อย่าง      5)  เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพรภาคสนาม
            หน้าบ้านผมนี่ ปีนี้ได้ 8 ตัน ก็คือ 8 หมื่นบาท แค่ไร่     “มหาวิทยาลัยเขาจะส่งนักศึกษามาฝึกงานที่นี่

            เดียว ยังไม่รวมอย่างอื่นอีก ที่ปลูกผักปลูกพริก มัน  ค่ะ เขาส่งมาทุกปี เพราะว่านักศึกษาเรียนแพทย์แผน
            ก็ได้อีก’’                                  ไทย ใบไม่ค่อยรู้จักของสด เขาให้อยู่แค่อาทิตย์เดียว
                 2)  มีระบบประกันราคาโดยการสนับสนุนปัจจัย  ไม่เยอะ’’

            การผลิตจากผู้ประกอบการ                           2.6 แนวท�งในก�รจัดก�รสุขภ�พชุมชนเพื่อ
                 “  …เขา (ผู้ประกอบการ) ก็หาเมล็ดพันธุ์ไอ้นู้นไอ้  เศรษฐกิจฐ�นร�ก กรณีศึกษ�สมุนไพรไทย พื้นที่
                                                              ้
            นี่มาให้ปลูก เขาจะมีสนับสนุนคือ เมล็ดพันธุ์ ท่อน  ลุ่มแม่นำ�นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
            พันธุ์พวกนี้ เขาก็สนับสนุนให้และถ้าอย่างฤดูเพาะ     จากการอภิปรายกลุ่มมีแนวคิดจากผู้เข้าร่วม
            ปลูกถ้าเราไม่มีทุนเขาก็จะสนับสนุน...มีประกันครับ   อภิปรายสามารถจำาแนกได้ 3 แนวทางหลัก ได้แก่ 1)

            อย่างสมมติว่าอย่างปีแรกที่หนูทำาขมิ้นชัน มันเหลือ 7   การพัฒนาความตระหนักในการใช้สมุนไพรให้มีมาก
            บาท 8 บาท เขาประกันให้หนู 10 บาท และมาอีกปีหนึ่ง  ขึ้น 2) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
            มันก็แพงขึ้นแต่เขาก็ยังให้ 10 บาทอยู่...’’  และสมุนไพร 3) การส่งเสริมวิสาหกิจสุขภาพชุมชน

                 “...มีการสนับสนุนจาก 2 บริษัทคือ เวชพงศ์ กับ  แบบครบวงจร ดังมีรายละเอียดแนวคิดจากผู้เข้าร่วม
            เจริญสุขโอสถ มีนักวิชาการมีเภสัชเข้ามาตรวจสอบ  อภิปรายในแต่ละแนวทางดังตารางที่ 2

            เข้ามาดูแลกลุ่มของเราในการนำาดินในการนำาสมุนไพร
            เราไปตรวจหาตัวยา...’’                                     อภิปร�ยผล
                 3)  เกษตรกรมีความต้องการแปรรูปตากแห้ง       งานวิจัยนี้ได้แนวทางการขับเคลื่อนสุขภาพ

            สมุนไพร                                     ชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก กรณีศึกษาสมุนไพรไทย
                                                                ้
                 “มันต้องตากอ่ะ เราติดตรงตาก มันไม่มีที่ อย่าง  พื้นที่ลุ่มนำานครชัยศรี จากข้อเสนอเห็นได้ว่าสิ่งสำาคัญ
            เราจะไปเอาผ้าเขียว ขึงข้างถนนอย่างเนี่ย เขามาเห็น  ที่จะทำาให้เกิดการขับเคลื่อนการจัดการสุขภาพชุมชน

            เขาก็ไม่เอา เขาพูดว่าให้ขึ้นจากถนนเมตรหนึ่ง บางที่  เพื่อเศรษฐกิจฐานรากในกรณีของสมุนไพรลุ่มนำา ้
            มันมีขนแมวขนอะไรอย่างเนี่ย’’                นครชัยศรีนี้ บ่งบอกออกมาอย่างชัดเจนว่าการพัฒนา
                 “ปลูกเพชรสังฆาต ...ตัดทีมันคัน แบบเอาไปส่ง  ให้คนในชุมชนมีความตระหนักในการใช้สมุนไพรเป็น

            โรงงาน แล้วพนักงานในโรงงานก็คันไปกันหมด มันก็  ก้าวแรกที่สำาคัญที่จะนำาไปสู่พฤติกรรมการใช้ และส่ง
            เลยเป็นปัญหา มันก็เลยมีปัญหา ทำาเป็นแห้งให้ผมได้  ผลทางเศรษฐกิจชุมชนเป็นลูกโซ่ ดังแนวคิดเกี่ยวกับ

            ไหม ก็ไม่มีที่ตาก ...’’                     ความตระหนักที่กล่าวไว้ว่าความตระหนักเกิดขึ้นจาก
                 4)  ใช้ระบบการจ้างแรงงานในชุมชน        การมองเห็นคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เมื่อเกิดความ
                 “อย่างดายหญ้า ขุดหรือว่าล้างอะไรอย่างเนี่ย เรา  ตระหนักแล้วก็จะนำาพาไปสู่การนำาไปใช้ นำาไปปฏิบัติ
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198