Page 195 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 195

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  417




            จนพัฒนาเป็นค่านิยมในที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัย  นำ้านครชัยศรี จากการอภิปรายกลุ่มมีประเด็นที่
                                   [9]
            ของ Muangsakul W, et al.  ที่พบว่า พฤติกรรม   เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแนวทางในการขับเคลื่อน
            การรับรู้ ทัศนคติ และการเข้าถึงด้านสุขภาพ เป็น  ระบบสุขภาพชุมชนในพื้นที่ กรณีศึกษาชุมชนลุ่มนำ้า
            ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาวะชุมชน อย่างไรก็ตามความ  นครชัยศรี ดังมีรายละเอียดในแต่ละแนวทางดังต่อไป
            ตระหนักต้องมีองค์ประกอบด้านความรู้ด้วย ถ้า  นี้

            ปราศจากการรับรู้ ความเข้าใจก็ไม่นำาไปสู่การเกิด     แนวท�งที่ 1 การพัฒนาความตระหนักในการ
            ความตระหนักได้                              จัดการสุขภาพชุมชนอย่างองค์รวมสำาหรับชุมชนในทุก
                 ในส่วนของการขับเคลื่อนให้ชุมชนมีความรู้  ระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว หน่วยงาน องค์กร และ

            เป็นประเด็นที่สำาคัญ งานวิจัยนี้จึงเสนอแนวทางใน  ชุมชนโดยมีรายละเอียดแนวทางในการพัฒนาดังต่อ
            การสร้างความรู้ของชุมชนในลักษณะที่นำาไปใช้จริง  ไปนี้
            ได้ โดยทำาในรูปแบบของแปลงสาธิต หรือการทำาจริง      1.1 การพัฒนาหลักสูตรชุมชนเพื่อสร้างทัศนคติ

            ให้เห็นจริง ไปสู่การสร้างความเชื่อมั่นของชุมชนได้  ที่ดีต่อการดูแลสุขภาพชุมชนแบบองค์รวมโดยผสม
            เห็นประโยชน์ และคุณค่าในการจัดการสุขภาพชุมชน  ผสานระหว่างภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยกับการ

            ด้วยสมุนไพร ดังที่มีการกล่าวถึงขั้นตอนในการสร้าง  แพทย์วิชาชีพ
            การรับรู้ของชุมชนด้วยกระบวนการเรียนรู้ว่าการเกิด     1.2 การส่งเสริม รณรงค์ การปลูก และใช้
            การรับรู้จะเกิดได้ดีต่อเมื่อผู้รับรู้เห็นความสำาคัญ เห็น  สมุนไพรพื้นบ้านในระดับครัวเรือน

            ประโยชน์ เห็นแนวทางการนำาไปใช้ การรับรู้ การนำา     1.3 การจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการแพทย์
            ไปใช้ก็จะเกิดขึ้นตามมา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย  แผนไทยเพื่อการพึ่งพาตนเอง

                             [10]
            ของสังคม สุภรัตนกุล ที่พบว่าความรู้ด้านสุขภาพ     1.4 สร้างกลุ่ม/เครือข่าย การจัดการสุขภาพ
            เป็นปัจจัยนำาในการเลือกรูปแบบการรักษาการเจ็บ  ชุมชนด้วยการแพทย์แผนไทยแบบครบวงจรตั้งแต่
            ป่วยของสมาชิกในครอบครัว โดยการเลือกรูปแบบ   ผลิตพืชสมุนไพรชุมชน การรวบรวม การแปรรูป และ

            การแพทย์แผนไทยมีปัจจัยมาจากทางสังคม ได้แก่   การตลาด
            แรงสนับสนุนจากเพื่อนหรือคนใกล้ชิด ซึ่งแสดงให้     แนวท�งที่ 2 การพัฒนาต้นแบบการจัดการ
            เห็นว่านอกจากความรู้แล้วการให้ข้อมูลจากสังคม  สุขภาพชุมชนแบบองค์รวมเพื่อเป็นแหล่งรวบรวม

            ด้วยการทำาแปลงสาธิต การสร้างพื้นที่ต้นแบบ จาก  ถ่ายทอด และการเรียนรู้สำาหรับชุมชน มีรายละเอียด
            ข้อเสนอแนวทางในการศึกษานี้จะช่วยเสริมให้การ   แนวทางดังนี้
            ขับเคลื่อนสุขภาพชุมชนด้านสมุนไพรมีประสิทธิภาพ     2.1 จัดทำาแปลงสาธิตการปลูกและการใช้

            มากขึ้น                                     สมุนไพรจัดการสุขภาพชุมชน
                                                             2.2 สร้างพื้นที่ต้นแบบการรักษาด้วยการแพทย์
                             ข้อสรุป                    แผนไทยในระดับชุมชนขั้นปฐมภูมิ


                 สรุปแนวทางการขับเคลื่อนสุขภาพชุมชนเพื่อ     แนวท�งที่ 3 การส่งเสริมวิสาหกิจสุขภาพชุมชน
            เศรษฐกิจฐานราก: กรณีศึกษาสมุนไพรไทยพื้นที่ลุ่ม  แบบครบวงจร มีรายละเอียดแนวทางดังนี้
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200