Page 188 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 188
410 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
ตารางที่ 1 ศักยภาพด้านสมุนไพรของประเทศไทย
จุดแข็ง จุดอ่อน
1. มีสมุนไพรที่หลากหลายด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ 1. เกษตรกรขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมี
2. มีภูมิปัญญาสมุนไพรที่สั่งสมมานาน ประสิทธิภาพ
3. มีแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร 2. ความนิยมการใช้สมุนไพรยังแพร่หลายในวงจำากัด
4. มีเครือข่ายกับประเทศเพื่อนบ้านและตลาดโลก 3. งานวิจัยและพัฒนามีความไม่ต่อเนื่อง
โอกาส อุปสรรค
1. มีความเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่นที่หลากหลาย 1. การตลาดมีความเสี่ยงสูง เกษตรกรไม่กล้าลงทุน
แตกต่างกันตามภูมินิเวศและวัฒนธรรม 2. มีกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์สมุนไพรทำาให้การผลิต
2. มีการสนับสนุนจากภาครัฐในการส่งเสริม ระดับชุมชนฐานรากต้องปรับตัวมาก
นโยบายเมืองสมุนไพร
ที่มา: ปรับปรุงจากลักษณะเลิศ เปรมปรีดิ์ [4]
ฐานราก และเพื่อวิเคราะห์แนวทางในการจัดการ พยาบาลการแพทย์แผนไทย ตำาบลห้วยพลู และอำาเภอ
สุขภาพชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก กรณีศึกษา ดอนตูม จังหวัดนครปฐม เป็นพื้นที่ผลิตสมุนไพร มี
้
สมุนไพรไทย พื้นที่ลุ่มแม่นำานครชัยศรี จังหวัด กลุ่มวิสาหกิจสมุนไพรพื้นบ้านดอนรวก ตำาบลดอน
นครปฐม เพื่อทราบถึงแนวทางในการจัดการสุขภาพ รวก และเป็นที่ตั้งของผู้ประกอบการแปรรูปสมุนไพร
ชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากซึ่งจะเป็นข้อมูลสำาคัญ
สำาหรับชุมชนในการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจ นิย�มศัพท์
ฐานรากโดยใช้ภูมิปัญญาสมุนไพรอันจะนำาไปสู่ เศรษฐกิจฐานราก หมายถึง ระบบการจัดการ
คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ทุนชุมชน ได้แก่ ทุนคน ทุนเครือข่าย ทุนทรัพยากร
ทุนวัฒนธรรม ทุนภูมิปัญญาโดยชุมชนท้องถิ่นผ่าน
ระเบียบวิธีศึกษ� กระบวนการมีส่วนร่วมของสมาชิกชุมชน ที่นำาไปสู่
การสร้างพลังในการทำางานร่วมกันความสามารถที่จะ
พื้นที่ศึกษ� เจรจาต่อรองและประสานงานทั้งภายในและภายนอก
การคัดเลือกพื้นที่อย่างเจาะจงตามโจทย์วิจัย ชุมชน มีการจัดการระบบการเงินของชุมชน ระบบ
ได้พื้นที่ชุมชนอิงตามบริบทการจัดการสุขภาพชุมชน ข้อมูล ระบบการผลิต ระบบการอยู่ร่วมกัน ให้สามารถ
โดยเลือกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ พึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้
ชุมชน ได้แก่ โรงพยาบาลที่มีบริบทด้านสมุนไพร
เป็นศูนย์กลางพื้นที่ศึกษา และคัดเลือกได้ชุมชนใน ผู้ให้ข้อมูลหลัก
2 อำาเภอ ได้แก่ อำาเภอนครชัยศรี ที่เป็นพื้นที่มีโรง ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้มีส่วนได้เสียในโซ่อุปทาน