Page 186 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 186

408 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




           พ.ศ. 2545 มีการพัฒนาบุคลากรการแพทย์แผน      แห้ง ในส่วนนี้อาจพบมีการแปรรูปสมุนไพรเบื้องต้น
           ไทยในระดับอุดมศึกษา มีการเปิดให้ยาแผนโบราณ  โดยการอบแห้งของกลุ่มเกษตรกรหรือกลุ่มผู้ปลูก

           สามารถผลิตในรูปแบบเม็ด และแคปซูลได้ มีการ   ด้วย หลังจากนั้นวัตถุดิบสมุนไพรจะส่งต่อไปยังภาค
           ผลิตยาแผนไทยในโรงพยาบาลหลายแห่ง และให้      อุตสาหกรรมเพื่อการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ทั้งยา
           บริการการแพทย์แผนไทยอย่างกว้างขวาง สำานักงาน  สมุนไพร เครื่องสำาอาง อาหาร เครื่องดื่ม รวมถึงอาหาร

           หลักประกันสุขภาพแห่งชาติสนับสนุนงบประมาณ    เสริมสมุนไพร ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ได้จะส่งต่อไปยัง
           การบริการการแพทย์แผนไทย และโรงงานผลิตยา     ผู้บริโภคผ่านธุรกิจสมุนไพรทั้งการค้าส่ง ค้าปลีก การ
           แผนไทยหลายแห่งพัฒนาจนได้มาตรฐานการผลิตที่   บริการ และส่งออก โดยส่วนใหญ่สมุนไพรของไทยมี

           ดี (Good Manufacturing Practice: GMP) [1]   การผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการใช้ในประเทศ
                กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการสนับสนุน    เป็นส่วนใหญ่ ไม่ได้ปลูกเพื่อการค้าเป็นหลัก จึงยัง
           การใช้สมุนไพรในหน่วยบริการของกระทรวงสาธารณสุข   คงมีปัญหาด้านมาตรฐานและคุณภาพโดยเฉพาะตัว

                                                             [4]
           ตามแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร   วัตถุดิบ  สรุปโซ่อุปทานของสมุนไพรได้ดังภาพที่ 1
           ไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 กำาหนดให้ใช้ตำารับยา     จากข้อมูลค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของ

           สมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติทดแทนยาปัจจุบัน  ประชาชนที่เพิ่มขึ้นทุกปีโดยพบว่าช่วง 10 ปี ตั้งแต่
           ได้ และให้มีการส่งเสริมผลักดันให้เกิดเมืองสมุนไพร  พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2559 ประชาชนมีค่าใช้จ่ายเพิ่ม
           อย่างครบวงจร โดยขอความร่วมมือให้หน่วยงาน    ขึ้นจาก 221,491 บาท/คน/ปี เป็น 377,916 บาท/คน/

           บริการในสังกัดสั่งใช้ยาสมุนไพรเป็นลำาดับแรกตาม  ปี หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.62 (ภาพที่ 2)
           บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ได้แก่ ยาขมิ้นชัน      จากข้อมูลที่กล่าวมา ถ้าชุมชนสามารถจัดการ

           และยาฟ้าทะลายโจร [2]                        สุขภาพชุมชนได้จะทำาให้ชุมชนลดรายจ่ายลงได้
                การใช้สมุนไพรมีความเกี่ยวข้องกับการพัฒนา  ในขณะเดียวกันก็จะสามารถเพิ่มรายได้ด้วยพืช
                                                                                           [5]
           เศรษฐกิจฐานรากอย่างแยกกันไม่ออก เนื่องจาก   สมุนไพรได้อีกทางหนึ่งซึ่งลักษณะเลิศ เปรมปรีดิ์  ได้
           เศรษฐกิจฐานรากเป็นระบบเศรษฐกิจที่อาศัย      วิเคราะห์ศักยภาพของประเทศไทยเกี่ยวกับสมุนไพร
           ศักยภาพของทุนชุมชนอันได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนเครือ  ว่าประเทศไทยตั้งในภูมิศาสตร์ที่มีความหลากหลาย
           ข่าย ทุนความรู้ ทุนทรัพยากร และทุนวัฒนธรรม ให้  ทางชีวภาพ และมีภูมิปัญญาเกี่ยวกับสมุนไพรที่สั่งสม

           ได้มาซึ่งการสนองความต้องการของชุมชนทั้งทางด้าน  มานาน ภาครัฐให้มีนโยบายสนับสนุนโดยมีแผน
                       [3]
           เศรษฐกิจ สังคม  ดังนั้นด้วยสมุนไพรเป็นภูมิปัญญา  แม่บทแห่งชาติด้านสมุนไพร ประกอบกับมีเครือข่าย
           ของไทยที่มีการสืบทอดต่อเนื่องกันมายาวนาน เห็น  กับประเทศเพื่อนบ้าน แต่เกษตรกรยังขาดเทคโนโลยี

           ได้ว่าในโซ่อุปทานสมุนไพรมีความเกี่ยวข้องกับระบบ  การผลิตที่เหมาะสมทั้งการผลิตและการแปรรูป
           เศรษฐกิจ หากพิจารณาจากโซ่อุปทานของสมุนไพร   ความนิยมใช้สมุนไพรยังไม่กว้างขวาง และงานวิจัย
                            ้
           พบว่าในส่วนของต้นนำามีผู้เกี่ยวข้องคือ ผู้ปลูกหรือ  และพัฒนาขาดความต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันการ
           เกษตรกร และผู้รวบรวมสมุนไพรหรือผู้ประกอบ    ใช้สมุนไพรไทยมีลักษณะหรืออัตลักษณ์เฉพาะท้อง
           การรวบรวมวัตถุดิบสมุนไพรซึ่งจะมีทั้งในรูปสดและ  ถิ่น มีความหลากหลายตามภูมินิเวศ ยังคงมีความไม่
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191