Page 187 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 187
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 409
ต้นน�้า กลางน�้า ปลายน�้า
วัตถุดิบนำาเข้าจาก ยาสมุนไพร ธุรกิจค้าส่ง
ต่างประเทศ เครื่องสำาอาง ธุรกิจค้าปลีก
วัตถุดิบในประเทศ อาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจบริการ
เกษตรกร/วิสาหกิจ อาหารเสริมสมุนไพร การส่งออก
ภาพที่ 1 ห่วงโซ่อุปทานธุรกิจสมุนไพร
ที่มา: ปรับปรุงจากลักษณะเลิศ เปรมปรีดิ์ [4]
ค่าใช้จ่าย (บาท/คน/ปี)
ปี (พ.ศ.)
ภาพที่ 2 ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชน
ที่มา: ปรับปรุงจากสำานักงานสถิติแห่งชาติ [5]
แน่นอนในด้านการตลาดสมุนไพรที่มีความเสี่ยงด้าน สมุนไพร จากข้อมูลการสำารวจพื้นที่ก่อนทำาการวิจัย
ราคาที่ผันผวน รวมถึงยังคงมีกฎหมายควบคุมการ พบว่ามีบริบทครอบคลุมโซ่อุปทานสมุนไพรตั้งแต่
ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ชุมชนฐานรากต้องปรับตัว ต้นนำ้า ได้แก่ มีพื้นที่ผลิตสมุนไพร มีกลุ่มวิสาหกิจ
มากดังตารางที่ 1 สมุนไพรพื้นบ้าน กลางนำ้า ได้แก่ มีโรงพยาบาลที่มี
จากข้อมูลข้างต้นเป็นที่มาของการศึกษา บริบทด้านสมุนไพรเป็นศูนย์กลาง และปลายนำ้า ได้แก่
สถานการณ์ ศักยภาพ และแนวทางในการจัดการ เป็นที่ตั้งของผู้ประกอบการแปรรูปสมุนไพรโดยมุ่ง
สุขภาพชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก ผู้วิจัยได้คัดเลือก หวังว่างานวิจัยนี้จะเป็นข้อมูลสำาคัญสำาหรับชุมชนใน
กรณีศึกษาสมุนไพรไทย พื้นที่ลุ่มแม่นำ้านครชัยศรี การขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนด้าน
จังหวัดนครปฐมเนื่องจากสามารถตอบโจทย์วิจัยเพื่อ สมุนไพรไทย การแพทย์แผนไทย ส่งต่อไปสู่การยก
ให้เห็นข้อเท็จจริง และความถูกต้องตรงประเด็น ใน ระดับเศรษฐกิจระดับชุมชนต่อไป
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากที่สามารถกำาหนดแนวทาง วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาสถานการณ์
การจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากด้าน ศักยภาพในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเศรษฐกิจ