Page 190 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 190
412 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
องค์ความรู้ด้านเภสัชกรรมไทย
“...ฟ้าทะลายโจรใช้เยอะ ขมิ้นชันใช้เยอะ เพราะฟ้าทะลายโจรใช้ในโรงพยาบาลด้วยในภาครัฐ กรมแพทย์แผน
ไทยเขาส่งเสริมให้ใช้อยู่แล้วแทนพาราแก้ปวดลดไข้ ขมิ้นชันไปแทนแอร์เอ็กซ์ ลดการนำาเข้า จริง ๆ แล้วมันเริ่ม
มาจากการลดการนำาเข้าในยาแผนปัจจุบัน ส่งเสริมให้มีการใช้ยาในประเทศ...”
องค์ความรู้ด้านแหล่งผลิตสมุนไพร
“...พืชหัวในดิน ในเขตตะวันตกปลูกได้ดี ตั้งแต่ราชบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เราก็ Contact อยู่แถวนั้น ดิน
่
แถวนี้คือปลูกหัวในดินดี ไปดูทางอีสานเขาก็ปลูกได้ แต่ปริมาณสารสำาคัญเขาตำากว่าหน่อยหนึ่ง แล้วผลผลิตต่อ
ไร่เขาได้น้อย ลักษณะดินไม่เหมือนกัน...”
องค์ความรู้ด้านการผลิต แปรรูป
“...ถ้าเขาจะทำาเรื่องขมิ้นชันก็เอาเขามาอบรมเรื่องการปลูกขมิ้นชันให้รู้จริงไปเลยอย่างหนึ่ง เพราะพืชหัวในดิน
้
เขาไม่ปลูกซำาที่กันอยู่แล้ว 3 ปี เขาปลูกเปลี่ยนที่มันเหมือนไร่เลื่อนลอย...อย่างแรกเลยที่เราพูดเรื่องดิน
ตรวจวิเคราะห์ดินเรื่องที่สองเรื่องที่สำาคัญเลยคือการหาพันธุ์เราต้องศึกษาพันธุ์ที่ดีและไม่มีโรคที่นำามาปลูก
แล้วได้ผลผลิตที่ดี ๆ ต่อไร่ ไม่มีโรค แล้วสารสำาคัญสูงแล้วเอาพันธุ์นั้นมาปลูกมาทดลองดู ข้อที่สามสารสำาคัญ
มันขึ้นอยู่กับอายุการเก็บเกี่ยวอย่างขมิ้นชันต้องปีหนึ่ง ถ้าปลูก 5 เดือน 7 เดือน 8 เดือน ปลูกมาสารสำาคัญไม่
ถึง 5 แน่นอน แต่ถ้าปีหนึ่งอาจจะได้ 6 หรือ 7 อยู่ที่สายพันธุ์นั้นด้วยนะคะ เพราะขมิ้นชันมีหลายสายพันธุ์ ขมิ้น
ด้วง ขมิ้นพันธุ์พื้นบ้าน ขมิ้นไพล...”
กรอบที่ 1 ตัวอย่างคำาบอกเล่าของผู้ประกอบการเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านสมุนไพรจากประสบการณ์
แต่ถ้าเป็นตำาราของหมอพื้นบ้านที่ทิ้ง ๆ ไว้ไม่กล้าให้ ทั่วประเทศ พบว่าผู้รับบริการการแพทย์แผนไทย
เพราะเราต้องขออนุญาตเขาแต่ไม่รู้ไปขอที่ไหนเพราะ มากกว่าร้อยละ 80 รับการรักษาและฟื้นฟูสภาพโดย
เขาตายไปแล้ว เก็บจนเปื่อยจนหยิบหลุดก็มี ยังบอก การนวดไทยและยาแผนไทย โดยยาแผนไทยที่ใช้
ลูกให้ไปพิมพ์ใหม่ ถ้าไม่ก็ถ่ายเอกสารเก็บไว้เพื่อที่ไม่ มาก 5 อันดับแรก ได้แก่ ยาขมิ้นชัน ยาฟ้าทะลายโจร
ให้มันเปื่อยสาบสูญไป เสียดายมันเป็นของไทย เขายัง ยาประสะมะแว้ง ยาพญายอ และยาผสมเพชรสังฆาต [6]
ไม่ได้ทำากันเลย...’’ การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาเกี่ยวกับ
ส่วนที่ 2 สถ�นก�รณ์ก�รขับเคลื่อน และพัฒน� ธุรกิจสมุนไพรเพื่อส่งเสริมอาชีพท้องถิ่นพบว่าใน
สมุนไพรไทยเพื่อสุขภ�พชุมชน จังหวัดอุตรดิตถ์มีจุดแข็งในด้านบุคลากรการแพทย์
จากรายงานการวิจัยเกี่ยวกับสถานการณ์การให้ แผนไทยจำานวนมาก มีการสร้างเครือข่าย มีโรงงาน
บริการการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริม ผลิตยาที่ขอขึ้นทะเบียนแล้ว มีโรงงานบดสมุนไพร
สุขภาพตำาบล กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ขนาดใหญ่ สำาหรับจุดอ่อนพบว่า ยังขาดการส่งเสริม
ทางเลือก พบว่าได้มีการนำาร่องสนับสนุนการจัดบริการ การผลิตสมุนไพร มีการปิดบังตำารับยา พบโอกาสคือมี
การแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับ
ตำาบล (รพ.สต.) โดยให้แพทย์แผนไทยที่มีใบประกอบ การแพทย์แผนไทยได้ ส่วนอุปสรรคคือราคาสมุนไพร
วิชาชีพจำานวน 206 คนไปปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาล ไม่แน่นอน และสมุนไพรในธรรมชาติลดลง [7]