Page 194 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 194
416 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
ตารางที่ 2 ตัวอย่างความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมอภิปรายในการเสนอแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากด้านการจัดการ
สุขภาพชุมชน กรณีศึกษาสมุนไพร
ข้อสรุปแนวทาง ตัวอย่างความคิดเห็นจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
แนวทางที่ 1 “เราใช้สมุนไพรเป็นยาหรือเป็นอาหารในการส่งเสริมสุขภาพของเราดีกว่ามารักษาเป็น
พัฒนาความตระหนัก ปลายเหตุค่ะ.ให้ชาวบ้านเราดูแลสุขภาพตนเองโดยเริ่มต้นที่สมุนไพรที่หาง่ายที่ใกล้ๆ ตัว
ในการใช้สมุนไพร และก็ถ่ายทอดองค์ความรู้นี้ไปสู่เด็ก”
“ในมิติสาธารณสุขไม่ได้โปรโมทว่าจะใช้ยาหรืออะไร สุดท้ายคือคนไข้ใช้จริงใช้เป็นหรือ
เปล่าอันนี้จบ...”
แนวทางที่ 2 “โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลขาดบุคลากรที่เป็นผู้ที่จะทำาหน้าที่เกี่ยวกับเวชกรรม
พัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการ เพราะฉะนั้นเราจ่ายยาก็จ่ายไม่ค่อยคล่อง”
แพทย์แผนไทย และสมุนไพร “อบรมการใช้สมุนไพรเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพตนเองซึ่งวิทยากรส่วนใหญ่แล้วก็คือ
เขาก็จะมาขอสนับสนุนจากโรงพยาบาล”
“พยายามสนับสนุนให้เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญานี้ลงสู่ชุมชนนะคะแล้วก็สนับสนุนให้
จดหรือบันทึกเพื่อเป็นข้อมูลทางด้านวิชาการ”
“พูดในฐานะของชาวบ้าน...คือเราอยากจะปลูกแต่เราไม่มีความรู้การเกษตร...เขาอาจจะ
ปลูกแล้วน่าเบื่อปลูกไม่ติดปลูกแล้วไม่ขึ้นก็เลยไม่ปลูกดีกว่า”
แนวทางที่ 3 “ให้กรมพัฒนาที่ดินตรวจว่าดินเหมาะสมไหมแล้วก็มีพวกสารเคมีตกค้างอยู่หรือเปล่า
การส่งเสริมวิสาหกิจสุขภาพ ก็เคยเจออยู่แปลงนึงเขามาขอทำาด้วยทีนี้ก็ตามไปดูเขาปลูกแต่เขาปลูกอยู่แล้วก็ปรากฏ
ชุมชนแบบครบวงจร ว่าเอาไปตรวจในวัตถุดิบของเขาก็ไปเจอสารเคมีตกค้างแล้วถามว่าเดิมทีเนี่ยปลูกอะไรอยู่
เขาก็บอกปลูกมะนาว ปลูกมะนาวก็ใช้สารเคมีเยอะ มันก็ตกค้างแต่ว่าเจอแบบนี้เยอะค่ะ”
“ผมมองว่าถ้าจะขับเคลื่อน ถ้าในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มแรกในเรื่องของแกน
นำาสุขภาพ กลุ่มที่สองก็คือกลุ่มเกษตรกรที่เขามีความสนใจที่จะปลูกสมุนไพรหรือปลูก
เพื่อการลงทุนเราก็ต้องให้หนทางในการประสบความสำาเร็จ เรามีเจริญสุขโอสถเรามี
สมุนไพรของดอนรวกเป็นไปได้ไหมว่าตั้งเป้าหมายให้เกษตรกรที่สนใจรับซื้อใน Volume
เท่าไหร่เพื่อให้ปลูกเพียงพอกับความต้องการในตลาดแล้วก็สนองรับนโยบายมันก็จะครบ
วงจร ปลูกแล้วต้องมีที่รองรับเป็นรูปธรรมรวมถึงวิธีการปลูกส่งเสริมเขาอย่างไรเพื่อให้เขา
สามารถปลูกสมุนไพรได้อย่างมั่นใจโดยบทบาทและหน้าที่ของรพ.สต.ท้องถิ่น เรามีหน้าที่
จะขับเคลื่อนประมาณนี้สนับสนุนได้ในเรื่องงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเองที่
จะส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพรอย่างถูกต้องและถูกวิธี แต่ว่าโดยส่วนตัวก็ไม่อยากให้การ
ส่งเสริมของเราเนี่ยมันหายขาดไปจะต้องมีความต่อเนื่องเรื่อยๆ ประจำา สร้างความมั่นใจ
ให้ชุมชนในท้องถิ่น”
“ห้วยพลูเราก็มีโรงพยาบาลแพทย์แผนไทยที่มีชื่อเสียงซึ่งนายกหลายแห่งไม่ว่าจากภาค
ใต้ภาคเหนือก็มาใช้บริการที่ห้วยพลู เป้าหมายอย่างหนึ่งในเรื่องของสุขภาพเนี่ยเราอาจ
จะศึกษาเพิ่มว่าเมื่อใช้ หรือเมื่อลดเศรษฐกิจฐานรากเองเราอยากให้ค่าใช้จ่ายเป็นอาหาร
ในครัวเรือนประมาณเท่าไหร่ บางทีเราทำาอาหารใช้ไม่เยอะอาจจะขอกันกินเองในชุมชน
ได้ โดยส่วนตัวก็ยังให้เป็นรูปแบบนี้ครับ”
“...ต้องมีตลาดรองรับก่อนซึ่งเป็นหลักนโยบายของรัฐบาลค่ะเป็นอันใหญ่เนี่ยเพราะว่า
ถ้าเกิดไม่มีตัวนี้มาเราจะผลิตมาเราก็ไม่รู้จะขายไปอย่างที่บอกคือถ้าเกิดว่ารัฐบาลจะ
สนับสนุนมันต้องมาเชิงนโยบายว่าคุณมีตลาดแล้วหรือยังที่จะขยายขายไปทั่วโลก”
“เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจอยากมีโรงตากที่มีมาตรฐาน...ถ้าเรามีโรงตากที่สะอาดที่ดีมันก็
จะเป็นมูลค่าเพิ่มของเกษตรกร”