Page 189 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 189

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  411




            สมุนไพร ได้แก่ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มนักวิชาชีพ  เพื่อเศรษฐกิจฐานราก กรณีศึกษาสมุนไพรไทย พื้นที่
                                                              ้
            สุขภาพ กลุ่มผู้ปกครองส่วนท้องถิ่น และกลุ่มผู้  ลุ่มแม่นำานครชัยศรี จังหวัดนครปฐม มีดังนี้
                                                                                      ้
            ประกอบการ สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงด้วยวิธีการบอก     ส่วนที่ 1 บริบทชุมชนที่ลุ่มแม่นำ�นครชัยศรี:
            ต่อ เก็บรวบรวมข้อมูลหลากหลายวิธีด้วยการสังเกต   แพทย์แผนไทย สมุนไพรไทย กับเศรษฐกิจฐ�นร�ก
            การสัมภาษณ์ และการอภิปรายกลุ่ม ประกอบกับ         การแพทย์แผนไทย หรือแต่เดิมที่เรียกว่า การ

            การวิเคราะห์เอกสารเพื่อให้ได้ข้อมูลบริบทชุมชนลุ่ม  แพทย์แผนโบราณ มีความเกี่ยวข้องกับภูมิปัญญา
              ้
            นำานครชัยศรีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสุขภาพชุมชน  ไทยมาช้านาน ในพื้นที่กรณีศึกษานี้พบเรื่องราวของ
            ที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก              สมุนไพร การแพทย์แผนไทย ที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ

                 กระบวนการศึกษาแนวทางใช้วิธีการจัดเวที  การเกษตร โดยพบว่ามีการรวบรวมสมุนไพร เป็น
            อภิปรายกลุ่มโดยคัดเลือกตัวแทนในระบบสุขภาพ   กิจการต่อเนื่องมาเกือบศตวรรษ ยืนยันตามคำาบอก
            ชุมชนในพื้นที่ได้ผู้เกี่ยวข้องจำานวน 22 คน ประกอบ  เล่าของผู้ประกอบการ ดังต่อไปนี้

            ด้วย 1) ภาควิชาชีพสาธารณสุขจำานวน 2 คน 2) ภาค     “...ก็จะต้องเท้าความถึงกิจการที่ทำามานะคะ ก็
            การปกครองท้องถิ่นจำานวน 7 คน 3) ภาคผู้ประกอบ  รับซื้อพืชผลทางการเกษตรทั่ว ๆ ไป ตั้งแต่สมัยเตี่ย

            การจำานวน 3 คน 4) ภาคเกษตรกรจำานวน 4 คน 5)   มาแล้วนะคะ จนมาถึงรุ่นตัวเองแล้วก็ตอนนี้ก็ส่งต่อ
            ภาคการศึกษาจำานวน 3 คน 6) ภาครัฐส่วนจากกลาง  ให้กับรุ่นลูกต่อไป เมื่อก่อนก็รับซื้อพวกพืชผลทางการ
            กระทรวงสาธารณสุขจำานวน 1 คน และ 7) ภาควิชาการ   เกษตรทั้งของในป่าตามชุมชนก็คือซื้ออะไรมาแล้วก็

            2 คน                                        ขาย ยุคนั้นถ้าถึงตอนนี้ก็น่าจะ 80-90 ปี’’
                                                             ชุมชนมีองค์ความรู้ด้านสมุนไพร ดังตัวอย่างคำา
            ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล                          บอกเล่าของผู้ประกอบการดังนี้ (กรอบที่ 1)

                 วิเคราะห์ข้อมูลแบบผสานข้อมูลจากหลายแหล่ง      จากข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการใน
            หลายวิธีด้วยการวิเคราะห์เอกสาร และการวิเคราะห์  จังหวัดนครปฐมได้แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาสมุนไพร

            เนื้อหา นำาเสนอข้อมูลโดยการพรรณนาประกอบคำา  ที่มีการสั่งจัดตำารับยาจากผู้รวบรวมสมุนไพร บาง
            บอกเล่า และหลักฐานเชิงประจักษ์              ครั้งมีการฝากตำารับยาไว้ที่ร้านจำาหน่ายสมุนไพรเพื่อ
                                                        สะดวกในการสั่งจัดยาสมุนไพร และยังแสดงให้เห็น
                          ผลก�รศึกษ�                    ถึงการสั่งสมภูมิปัญญามาเป็นระยะเวลานานถึงขนาด

                 การศึกษาเรื่องสุขภาพชุมชนกับการพัฒนา   ที่หมอยาบางท่านได้เสียชีวิตไปแล้วแต่ตำารับยายังอยู่
                                                   ้
            เศรษฐกิจฐานรากจากกรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มแม่นำา  ดังคำากล่าวต่อไปนี้
            นครชัยศรี จังหวัดนครปฐมนี้ ทำาการวิเคราะห์ผล     “...หมอพื้นบ้านที่นี่เอาตำารามาจัดยาที่ร้านจน
            การศึกษาเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) บริบทชุมชนลุ่มแม่นำา ้  หมอตายไปคนแล้วคนเล่า …ตำาราอยู่เขาไว้ใจเราค่ะ

            นครชัยศรีที่เกี่ยวกับการจัดการสุขภาพด้วยสมุนไพร  เอาตำารามาทิ้งไว้ เขาจะโทรมาสั่งคนไข้เป็นยังไง ใช้
            กับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก 2) สถานการณ์      ตำารับยาไหนแล้ว บางคนเขาให้เลย บางทีกรมแพทย์
            ศักยภาพ และแนวทางในการจัดการสุขภาพชุมชน     แผนไทยมาขอตำารับตำารานี่ให้เฉพาะเล่มที่เปิดเผยได้
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194