Page 132 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 132

354 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




                 ชื่อตำารับอาหารบางอย่างนอกจากจะปรากฏใน  ที่เรียบเรียงมาจากตำาราเรียนที่หม่อมเจ้าปราณี เรียบ-
             เอกสารจดหมายเหตุฉบับนี้แล้ว เช่น แกงยา ยังปรากฏ  เรียงตามความเห็นชอบของหม่อมเจ้าเจียก ทินกร (ผู้
             พบในตำารับอาหารที่ใช้ในการฟื้นฟูร่างกายคนป่วย   เป็นนายกจัดการโรงเรียนราชแพทยาลัย วังหลัง) ใช้

             ของ ม.ร.ว.เตื้อง สนิทวงศ์ พระธิดาของพระวรวงศ์   สอนนักเรียนแพทย์ในระหว่างพ.ศ. 2439-2443  ซึ่ง
                                                                                            [11]
             เธอพระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ซึ่งเป็นแพทย์หลวงใน  ตำาราเรียนแพทย์แผนไทยทั้ง 2 เล่มนี้ได้ปรากฏชื่อยา

             สมัยรัชกาลที่ 5 มีส่วนประกอบดังนี้          เดียวกันกับที่ปรากฏในเอกสารต้นฉบับจดหมายเหตุ
                 เครื่องปรุง ได้แก่ ประช่อน 1 ถ้วยชา พริกแห้ง   พระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์ มีทั้งหมด 8 ตำารับ
             12 เม็ด หัวหอม 4 หัว ปลากุเลาเค็มแกะ 1 ช้อนโต๊ะ   ดังนี้

             กะปิ 1 ช้อนชา ไพล 4 แว่นบาง ๆ นำ้าปลา 2 ช้อนโต๊ะ      3.1 พระโอสถทิพโอสถ
             นำ้า 2 1/2 ถ้วย ใบชะพลู 1/2 ถ้วยชา วิธีทำา ล้างพริกแช่     ส่วนประกอบ จันทน์แดง จันทน์เทศ กฤษณา กะ

             นำ้าแล้วโขลกให้ละเอียดแล้วใส่เครื่องทั้งหมดลงแล้ว  ลำาพัก ขอนดอก เทียนดำา เทียนแดง เทียนขาว เทียน
             โขลกให้ละเอียด ในนำ้าตั้งไฟให้เดือดล้างใบชะพลูให้  ข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี ผลผักชีลา อบเชยเทศ
             สะอาดหั่นฝอยให้ละเอียดใส่ลงในชามแกงแล้วตักนำ้า  อำาพันทอง เปลือกสมุลแว้ง หญ้าฝรั่น อย่างละ 2 สลึง

             แกงจืดเดือด ๆ ใส่นำ้าแกงจะใสกว่านำ้ายากะทินิดหน่อย  ชะมดเชียง ลูกจันทร์ กำายาน หัวโสม กระวาน กานพลู
             รับประทานร้อน ๆ  ซึ่งจากชื่ออาหารที่ถูกรวบรวมไว้  สังกรณี พิมเสนเกล็ด อย่างละ 1 สลึง โกฐจุฬาลัมพา
                          [10]
             ในตำารับที่ช่วยฟื้นฟูร่างกายของคนป่วย เมื่อดูจากส่วน  โกฐพุงปลา ชะลูด อย่างละ 2 บาท

             ประกอบที่มีสมุนไพร เช่น ไพล หัวหอม ใบช้าพลู ซึ่ง     สรรพคุณ สรรพยาทั้ง 26 สิ่ง ทำาเป็นผงบดด้วย
             เป็นสมุนไพรที่มีนำ้ามันหอมระเหย ช่วยในการขับลม   นำ้าดอกไม้เทศ ปั้นเม็ดไว้ละลายนำ้าดอกไม้สดให้กิน
             มีฤทธิ์ร้อนช่วยในการกระตุ้นการเผาผลาญ ให้ความ  แก้ลมวิงเวียนสวิงสวายแลอ่อนเพลีย หิวระโหยหา

             อบอุ่นกับร่างกาย                            กำาลังมิได้ แก้ดวงจิตขุ่นมัวระสำ่าระสาย แก้พิษ
                                                         สมุฏฐานกระทำาด้วยธาตุทั้ง 4 มิได้ปกติ นำ้ากระสาย
             3. ก�รศึกษ�วิเคร�ะห์ตำ�รับย�                ยักใช้ตามสมควรกับโรค

                 ตำารับยาที่ปรากฏในเอกสารต้นฉบับนี้จะเป็น     3.2 พระโอสถทิพสุขุม
             ชื่อตำารับยา เช่น ยาหอมเนาวโกฐ ยาธาตุบรรจบ และ     ส่วนประกอบ รากไคร้เครือ กานพลู ใบกระวาน
                                                   ้
             ชื่อที่เป็นลักษณะของยา เช่น พระโอสถอาโป (ยานำา)   ผลเอ็น ผลโหระพาคั่วพอเหลือง ชะเอมจีน นำ้าประสาน
             พระโอสถปัด (ยาระบาย) ซึ่งเมื่อนำามาเปรียบเทียบ  ทองสะตุ ผลผักชีลา เทียนดำา หัวแห้วหมู ผลมะขาม

             กับตำาราการแพทย์แผนไทยที่ปรากฏชื่อ จากตำารา  ป้อม ผลสมอเทศ อย่างละ 1 สลึง ผลสมอพิเภก 2 บาท
             แพทย์แผนไทยที่ใช้เรียนและสอนกันในสมัยรัชกาล  ผลสมอไทย 3 บาท โกฐนำ้าเต้า 8 บาท
             ที่ 5 และเรียบเรียงจากผู้ที่เป็นแพทย์ผู้ชำานาญ ได้แก่      สรรพคุณ สรรพคุณยา 15 สิ่งนี้ ทำาเป็นผงบด

             1. ตำาราเวชศึกษาแพทย์ศาสตร์สังเขป ของพระยา   ด้วยนำ้าผลสมอต้มแทรกเกลือพอควร กินเวลาเช้า
             พิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) 2. ตำาราแพทย์ตำาบล   แก้ในกองลมกองเสมหะ ทำาให้ท้องขึ้นท้องเฟ้อเรอ
             ของพระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช)    เหม็นเปรี้ยว อุจจาระมีกลิ่นกล้า ระคนด้วยเสมหะ แก้
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137