Page 134 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 134

356 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




             ชะมดเชียง อย่างละ 1 สลึง                    ยาหอมเนาวโกฐ ยาเบญจโกฐ ยาหอมอินทร์จักร ซึ่ง
                 สรรพคุณ สรรพยา 51 สิ่ง ทำาเป็นผง บดด้วย  ยาหอมที่ช่วยให้เพิ่มพละกำาลัง ทำาให้สดชื่น มีเรียว
              ้
                                                                                        ้
                                      ้
             นำาดอกไม้เทศ ปั้นเม็ดไว้ละลายนำาดอกไม้สดกิน แก้  แรง เช่น ตำารับเบญจโกฐประกอบด้วยนำาตาลทราย
             ลมสันนิบาต แก้ลมบาทจิตร แก้ลมเป็นพิษเพื่อดีเพื่อ  ชะเอม และตำารับยาหอมทิพโอสถ รสสุขุม แก้เรื่อง
             โลหิต ทำาดวงจิตรนั้นให้ขุ่นมัวให้คลั่งไคล้แลลมจับให้  อาการอ่อนเพลีย ตำารับหอมอินทร์จักร แก้ลมบาทจิตร

             แน่นิ่งไป แก้อัมพฤกษ์กำาเริบ ยานี้ทำาให้โลหิตเจริญดี  แก้ลมพิษเพื่อดีเพื่อโลหิต และตำารับหอมเนาวโกฐ แก้
             เป็นปกติ ใช้แก้พิษโลหิตในเรือนไฟก็ได้       อาการจุกแน่นเสียด เป็นต้น
                 3.8 พระโอสถวิรุณนาภี                        กลุ่มที่ 3 ยาบรรเทาอาการอุจจาระธาตุ (ลงท้อง)

                 ส่วนประกอบ สหัสคุณทั้ง 2 สิ่งละ 1 บาท พิษ  ได้แก่ ยาธาตุบรรจบ ยาปฐมธาตุ ซึ่งประกอบด้วยตัว
             นาศน์ รากระย่อม ไคร้เครือ สิ่งละ 2 สลึง พาดไฉน 5   ยารสร้อนที่ช่วยในการตั้งธาตุ คุมธาตุ เช่น ยาปฐมธาตุ
                     ้
             สลึง โกฐนำาเต้า 2 บาท แสมทั้ง 2 หนัก 1 บาท ส้มกุ้งทั้ง   แก้วาโยธาตุวิปริต ให้อุจจาระกะปิดกะปรอย เป็นต้น
             2 หนัก 1 บาท สมอไทยเอาแต่เนื้อ หนัก 1 ตำาลึง สมอ     จากการวิเคราะห์ตำารับยาจะพบว่า แพทย์หลวง
             เทศหนัก 1 ตำาลึง เทียนดำาหนัก 2 สลึง ลูกผักชีหนัก   ผู้ทำาการรักษา ทราบถึงพระอาการประชวรซึ่งน่า
                                       ้
             3 สลึง รากตองแตกหนัก 3 บาท นำาประสานทองสะตุ  จะประชวรด้วยโรคอุจจาระธาตุวิปริต ทำาให้มีพระ
             หนัก 3 สลึง ยาดำาหนัก 2 สลึง มหาหิงคุ์หนัก 5 บาท   บังคลหนัก ซึ่งเมื่อทราบแล้วว่า มีพระบังคลหนัก
             ชะเอม หนัก 1 บาท                            หลายครั้ง จึงวางยาโดยใช้ยาปัดหรือยาระบายเพื่อ

                 สรรพคุณ แก้ไข้เสมหะเมื่อปลายไข้ ให้รู้ว่ากาฬ  ถ่ายของเสียที่คั่งค้างออกมา และใช้ยาหอมเพื่อแก้
             ติดอยู่ ให้กินยาดับพิษกาฬเสียก่อน ถ้าว่ากาฬตกแล้ว  อาการอ่อนเพลียและใช้ยาแก้รักษาอาการอุจจาระธาตุ
             จึงกินยาขนานนี้เถิด เมื่อจะกินให้เอานำ้าร้อน นำ้าส้ม  โดยตรงนั้นคือ ยาธาตุบรรจบ และยาปฐมธาตุ จาก

             มะกรูด รุตามไข้หนักเบา ถ้าจะถ่ายให้เอาดีเกลือตัดลง  ตำารับยาและระยะเวลาในการรักษาจะเห็นได้ว่าแพทย์
             ตามธาตุหนักเบา นำ้าสมอต้ม นำ้าฝักคูณเป็นกระสาย   หลวงไม่ได้วางยาให้หยุดถ่ายหรือหยุดพระบังคลหนัก

             แก้สารพัดเถาดาน ริดสีดวงมองคล่อ โลหิตเสมหะ  เลยแต่เป็นการค่อย ๆ ปรับให้ร่างกายปกติตามลำาดับ
             พิการ แก้สารพัดไข้ทรางดีนักแล               ซึ่งจะเห็นในช่วงท้าย ๆ ของการรักษาแพทย์หลวงได้
                 การวิเคราะห์ตำารับยา จากสรรพคุณที่ปรากฏ  วางยา ตำารับวิรุณนาภี ซึ่งเป็นยาระบายอ่อน ๆ ตาม

             ในตำาราทางด้านการแพทย์แผนไทยสำาหรับรักษาโรค  ธาตุหนักเบา ในช่วงกลางคืน ซึ่งการรักษาโรคอุจจาระ
             อุจจาระธาตุ ในเอกสารต้นฉบับพระอาการไข้ไม่ทราบ  ธาตุนั้นไม่ได้ใช้ตำารับยาเพียงตำารับเดียวในการรักษา

             พระองค์ ฉบับนี้ได้ เป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ  แต่ต้องดูลักษณะอาการของคนไข้ด้วยจึงจะทำาให้การ
                 กลุ่มที่ 1 ยาระบาย ได้แก่ ยาทิพย์สุขุม ยา   รักษานั้นมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้ป่วย
             วิรุณนาภี ซึ่งตัวยาที่ประกอบในตำารับมีฤทธิ์ในการ
                                     ้
             ระบายในปริมาณมาก เช่น โกฐนำาเต้า สมอไทย ยาดำา   4. สะท้อนภ�พสังคมร�ชสำ�นักในสมัยรัชก�ล
             มหาหิงคุ์ เป็นต้น                              ที่ 5
                 กลุ่มที่ 2 ยาหอมบำารุงกำาลัง ได้แก่ ยาทิพโอสถ      เอกสารต้นฉบับฉบับนี้นอกจากจะเป็น
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139