Page 128 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 128

350 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




             ตารางที่ 1 การใช้พระโอสถ

             พระโอสถ                 จำานวน     จำานวน      ก่อนอาหาร/   หลังอาหาร/   ก่อนบรรทม/
                                       วัน        ครั้ง        ครั้ง        ครั้ง        ครั้ง

             พระโอสถทรงปัด             3           3            -            -            3
             พระโอสถทิพโอสถ            7           9            2            6            1
             พระโอสถแดงทับทิม          1           2            -            -            2
             พระโอสถทิพสุขุม           9           9            2            2            5
             พระโอสถหอมเนาวโกฐ         5           7            3            3            1
             พระโอสถธาตุบรรจบ          9           9            2            2            5
             พระโอสถเบญจโกฐ            2           2            -            -            2
             พระโอสถปฐมธาตุ            6           6            6            -            -
             พระโอสถอินทร์จักร         5           5            -            4            1
             พระโอสถอัพญาธโอสถ         2           2            -            1            1
             พระโอสถวิรุฬนาภี          2           2            -            2            -
             พระโอสถอาโป               2           1            -            -            -




             อาการประชวรได้ถวายพระโอสถแต่ละขนานแตก       วิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) พ.ศ. 2471 ได้แก่ ยาทิพ
             ต่างกันไปตามเวลาต่าง ๆ เช่น พระโอสถที่ถวายก่อน  โอสถ ยาหอมเนาวโกฐ ยาทิพสุขุม ยาปฐมธาตุ ยา
             เสวยพระกระยาหาร เพียงอย่างเดียว ได้แก่ พระโอสถ  หอมอินทร์จักร

             ปฐมธาตุ พระโอสถที่ถวายทั้งก่อนและหลังเสวยพระ     ตำาราเวชศึกษา แพทยศาสตร์สังเขป ของพระ
             กระยาหารรวมถึงเสวยก่อนพระบรรทม ได้แก่ พระ   ยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2496)  ได้แก่
                                                                                          [9]
             โอสถทิพโอสถ พระโอสถทิพสุขม พระโอสถหอมเนาว   ยาธาตุบรรจบ ยาประถมธาตุ ยาหอมอินทร์จักร ยา

             โกฐ พระโอสถธาตุบรรจบ ส่วนพระโอสถที่ถวายก่อน  หอมเนาวโกฐ ยาหอมทิพโอสถ ยาเบญจโกฐ ยาวิรุณ
             พระบรรทมอย่างเดียวได้แก่ พระโอสถทรงปัด (ยา  นาภี
             ระบาย) โอสถแดงทับทิม พระโอสถเบญจโกฐ และพระ      ตำารับยาที่ไม่ปรากฏชื่อในตำาราการแพทย์แผน

             โอสถที่ถวายหลังพระอาหารเสวย ได้แก่ พระโอสถ  ไทย คือ 1. พระโอสถแดงทับทิม สันนิษฐานจากช่วง
             อินทร์จักร พระโอสถอัพญาธโอสถ พระโอสถวิรุณนาภี   เวลาในการวางยา คือ วางยาในช่วงวันแรก เวลาบ่าย

             และจากชื่อยาที่ปรากฏในเอกสารจดหมายเหตุฉบับนี้   และยาม 1 หลังจากการจ่ายพระโอสถปัดในช่วงเช้า
             ยังได้ปรากฏตำารับยาในเอกสารและหนังสือต่าง ๆ เช่น   และพระโอสถทิพโอสถในช่วงบ่าย พระโอสถแดง
                 ตำารายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. 112 (พ.ศ.  2436)    ทับทิม น่าจะเป็นตำารับที่ใช้คุมธาตุ แก้อาการอุจจาระ
                                                   [8]
             ได้แก่ ยาหอมเบญจโกฐ ยาหอมเนาวโกฐ ยาหอม      พิการ 2. พระโอสถอัพญาธโอสถ จากช่วงเวลาการ
             อินทร์จักร ยาทิพสุขุม                       วางยา คือแพทย์หลวงวางยาพระโอสถอัพญาธโอสถ

                 ตำาราแพทย์ตำาบล ของพระยาแพทยพงษา        ช่วงเวลา ยาม 2 หลังจากจ่ายพระโอสถปฐมธาตุ และ
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133