Page 135 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 135

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  357




              จดหมายเหตุบันทึกพระอาการประชวรของเจ้า       ประชวรด้วยพระอาการไข้มีพระบังคลหนัก แพทย์
              นายในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังสะท้อนสภาพสังคมการ  ได้จัดพระโอสถเสวย คือ พระโอสถทรงปัดซึ่งคือ ยา
              เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในการเสวยพระกระยาหารของ  ระบายหรือยาถ่าย เป็นการขับของเสียที่คั่งค้างทำาให้

              เจ้านายในราชสำานัก จากการใช้มือในการรับประทาน  พระบังคลหนักออกเป็นของเหลวในลักษณะต่าง ๆ
              อาหารแบบไทย หรือที่เรียกกว่า “เปิบ’’  เป็นการใช้  เช่น เป็นเสมหะ เป็นเสมหะยวง เป็นต้น ซึ่งหลักการ
                                            [1]
              ช้อนส้อม แบบตะวันตก จนเกิดราชาศัพท์ ว่า “ฉลอง  นี้เป็นหลักการวางยารักษาไข้ การใช้ยารุ หรือ ยารุน
              พระหัตถ์’’ ดังที่ปรากฏในเอกสารต้นฉบับ ถึงแม้ว่า  ขับของเสียที่คั่งข้างในร่างกายออกมาเสียก่อนเพื่อ
              การแพทย์ตะวันตกจะเข้ามาเป็นที่รู้จักของเจ้านายใน  เตรียมร่างกาย และเป็นการลดอุณหภูมิของร่างกาย

              ราชสำานักและหมอไทยก็เรียนรู้และรับเอาวัฒนธรรม  ด้วยเพราะเมื่อระบายหรือขับถ่ายก็จะทำาให้อุณหภูมิ
              การแพทย์แผนตะวันตกที่ดี เช่น เครื่องมือการตรวจ  ในร่างกายลดลงด้วย สังเกตได้จากบันทึกที่บอกถึง

              ประเมินอาการ ที่เรียกว่า “ปรอทวัดไข้’’ มาใช้แต่ก็ยัง  การใช้ปรอทในการวัดไข้ ซึ่งในสมัยโบราณเรียกว่า
              มีแนวคิดและหลักการทฤษฎีการแพทย์แผนไทยจาก    “ปรอทตรวจไข้’’ เพื่อที่จะได้รู้ประมาณความร้อน
              ตำารับตำาราและคัมภีร์การแพทย์แผนไทย และในภาย  ในกายหรือพิษไข้เท่านั้น ความร้อนคนปรกติ ปรอท

              หลังได้นำาคำาว่า “ปรอท’’ ไปใช้เป็นคำาราชาศัพท์ ในคำา  ฟาเรนไฮต์ขึ้น 98 ดีกรีครึ่ง ถ้าขึ้นถึง 103 เป็นไข้ปาน
              ว่า “พระปรอท’’ หมายถึง มีไข้ตัวร้อน ซึ่งจะเห็นได้  กลาง ถ้าขึ้น 104 จะเป็นไข้มาก  ซึ่งอาการประชวร
                                                                                  [11]
              จากการวางยารักษาโรคและการใช้ตำารับยาสมุนไพร  ในวันแรกตรวจปรอทได้ 99 ดีกรีฟาเรนไฮต์ ซึ่งน่า
                                                                               ่
              ต่าง ๆ เพื่อถวายการรักษาเจ้านายในราชสำานัก ตามที่  จะแปลผลได้ถึงอาการไข้ตำา ๆ เมื่อได้รับยาระบาย
              ปรากฏในเอกสารต้นฉบับจดหมายเหตุฉบับนี้       หรือพระโอสถปัด จึงทำาให้เกิดอาการไข้ลดลง และ
                                                          ได้จ่ายยาทิพโอสถ ในเวลากลางวัน ซึ่งน่าจะเป็นการ
                            อภิปร�ยผล                     จ่ายยาแก้อาการอ่อนเพลียจากการพระบังคลหนัก

                   การแพทย์แผนไทย มีแนวความเชื่อที่ว่า อาการ  และได้จ่ายยาแดงทับทิม ในช่วงเวลาบ่ายและเย็น ซึ่ง
                                            ้
              ไข้ ไม่สบาย เกิดจาก ธาตุทั้ง 4 (ดิน นำา ลม ไฟ) ใน  อาจจะจ่ายเพื่อใช้คุมอาการ ดูจากลักษณะอุจจาระที่
              ร่างกายวิปริต หรือวิบัติ ไป ไม่เข้าสู่สภาวะปกติ จึง  ออกมา มีลักษณะเสมหะเป็นเปลว มีสายพระโลหิต
              ทำาให้เกิดอาการเจ็บป่วยเกิดขึ้น ซึ่งจากเอกสาร  น้อย ๆ เมื่อเข้าสู่วันที่ 2 อุณหภูมิร่างกายอยู่ที่ 96.4

              ต้นฉบับจดหมายเหตุพระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์  ฟาเรนไฮต์ ถือว่าอุณหภูมิร่างกายปกติ แล้วจึงไม่ได้
              ฉบับนี้ไม่ได้อธิบายทฤษฎีหรือหลักการทางการ   ถวายพระโอสถปัด แต่ถวายพระโอสถทิพย์สุขุม ซึ่ง

              แพทย์แผนไทยถึงสาเหตุการเกิดโรคและวิธีการรักษา  เป็นยาระบายอย่างอ่อน ลักษณะอุจจาระยังคล้ายกับ
              โดยตรง แต่ได้แสดงข้อมูลที่เป็นประโยชน์เป็นหลัก  วันแรก คือมี เสมหะเป็นเปลวมีสายพระโลหิต และ
              สังเกตและวิเคราะห์ ทั้ง ลักษณะอุจจาระ ชื่อตำารับ  ช่วงเวลาเย็น ๆ ได้จ่ายยาหอมเนาวโกฐ เพื่อแก้อาการ

              ยา อาหารที่เสวย ระยะเวลาในการให้ยา ทำาให้เราได้  อ่อนเพลีย ลักษณะอุจจาระยังมีเสมหะเป็นยวง เป็น
              ทราบแนวทางในการรักษาและวางยาที่หมอหลวงใน    ก้อนมากขึ้นกว่าเดิม และตอน 2 ยาม ได้จ่ายยาธาตุ
              ราชสำานักใช้รักษาพระอาการประชวร คือ แรกเมื่อทรง  บรรจบ เป็นการคุมอาการทั้งหมด เข้าสู่วันที่ 3 ลักษณะ
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140