Page 129 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 129
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 351
ก่อนที่จะจ่ายพระโอสถทิพโอสถ และพระโอสถทิพ ยำ่าเที่ยง เสวยพระโอสถทิพโอสถ บรรทมหลับ
สุขุม และจ่ายในช่วงพระอาการประชวรค่อยทุเลาบ้าง บ่าย 3 โมง บรรทมตื่น เสวยพระโอสถเบญโกฐ
แล้ว การวิจัยจึงคิดว่าพระโอสถอัพญาธโอสถเป็น ยา บรรทมหลับ
ระบายอย่างอ่อน ๆ อยู่ในกลุ่มเดียวกันกับยาวิรุณนาภี บ่าย_โมงเศษ บรรทมตื่น เสวยพระโอสถธาตุ
การที่ยังปรากฏตำารายาในเอกสารต่าง ๆ ในเวลา บรรจบ เสวยพระอาหารสวย ..ฉลองพระหัตถ์ กล้วย
ต่อมานั้นแสดงถึงการส่งต่อภูมิปัญญาความรู้และ สั้นต้ม 4 องค์
การใช้ตำารับยาไทยในการรักษาความเจ็บป่วยอย่าง 5 ทุ่มเศษ เสวยพระอาหารสวย..ฉลองพระหัตถ์
ต่อเนื่องของคนไทยมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจากเอกสาร กล้วยสั้นต้ม 2 องค์
จดหมายเหตุฉบับนี้ ระบุถึงในแต่ละวันเสวยพระ 2 ยาม เสวยพระโอสถทิพโอสถ บรรทมหลับ
โอสถ 4-5 ครั้ง ต่อวันและจำานวนวันละ 2 ขนานขึ้นไป 3 ยาม บรรทมตื่น เสวยพระโอสถทรงปัด
บางวัน 4-5 ขนานต่อวัน ซึ่งปรับเปลี่ยนเพิ่มยา ลดยา บรรทมหลับ
การวางยาในแต่ละวันและเวลาซึ่งอาจจะดูจากอาการ (จดหมายเหตุพระอาการไข้ หน้า 6-7)
ลักษณะที่ทรงประชวร ตัวอย่าง เช่น จากตัวอย่างจะเห็นรายละเอียดในการเสวยพระ
วันศุกร์ ขึ้น 15 คำ่า เดือน 10 โอสถในเวลาต่าง ๆ คือ การเสวยพระโอสถทิพโอสถ
เช้า 2 โมงครึ่ง บรรทมตื่น ไปพระบังคลหนัก ในเวลาเที่ยงหลังเสวยพระอาหาร เสวยพระโอสถ
พระเสมหะเป็นยวง 1 ครั้ง บรรทมหลับ เบญจโกฐ เวลาบ่าย 3 โมง เสวยพระโอสถธาตุบรรจบ
เช้า 4 โมง บรรทมตื่น เสวยพระอาหารสวย 5 ก่อนเสวยพระอาหาร เสวยพระโอสถทิพโอสถ ในเวลา
ฉลองพระหัตถ์ กล้วยสั้นต้ม 5 องค์ 2 ยามและ 3 ยาม เสวยพระโอสถทรงปัด (ยาระบาย)
ภาพที่ 2 แสดงการใช้ตำารับยาในช่วงเวลาต่าง ๆ ทั้ง 14 วัน