Page 136 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 136

358 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




             อุจจาระเป็นองค์เป็นมูลโคตั้งกอง นั้นหมายความว่า  พระโอสถปัด (ยาระบาย) ถ่ายของเสีย ทำาให้ร่างกาย
             ลักษณะอุจจาระกำาลังจะเข้าสู่ลักษณะปรกติ จ่ายยา  สะอาด การใช้ยาหอมชนิดต่าง ๆ แก้อาการอ่อนเพลีย
             ลักษณะตามเดิมที่จ่ายยาเป็นกลุ่มยาหอมบำารุงกำาลัง   ในเวลาที่เหมาะสมกับโรคและการดำาเนินไปของอาการ

             แก้อ่อนเพลีย จนเข้าวันที่ 5 ได้จ่ายพระโอสถปฐม  เจ็บป่วย การจ่ายยาตั้งธาตุและคุมธาตุให้เข้าสู่ภาวะ
             ธาตุซึ่งยาปฐมธาตุนั้น ตามตำาราหลักการวิธีรักษา   ปรกติ รวมถึงการเสวยพระอาหารขณะทรงประชวร

             ไข้ต่าง ๆ ของพระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทร  ทำาให้ทราบถึงภูมิปัญญาความรู้ทางด้านการประกอบ
             เวช) ได้ใช้ในการตั้งธาตุ ความว่า “เวลาเย็น ให้ยาปฐม  อาหารเป็นยาของแม่ครัวหรือผู้ประกอบอาหารในห้อง
                       ้
                                              ้
             ธาตุละลายนำาร้อนกิน ถ้าจะให้คุมละลายนำาเปลือก  ครัว ห้องเครื่อง ของสังคมไทยในราชสำานัก ในการปรุง
                                     ้
             แคต้ม ถ้าแก้ปวดมวนละลายนำาร้อนฝนไพลหมกไฟ    ประกอบและการคัดเลือกตำารับอาหารที่มีสรรพคุณ
                           ้
             แทรกให้กิน หรือนำาหัวกระชายต้มเป็นกระสายยากิน  ทางยาที่เหมาะสมกับสุขภาพร่างกายผู้ป่วยในช่วงเวลา
             ก็ได้’’  ซึ่ง สรรพคุณของยาปฐมธาตุจัดอยู่ในกลุ่ม  ต่าง ๆ
                 [11]
             ยาร้อนที่ใช้ตั้งธาตุแลคุมธาตุ แก้ในกองไข้กำาเนิดทำาให้
             อุจจาระวิปริตต่าง ๆ ทำาให้กลายเป็นริดสีดวงพรวก              ข้อสรุป

             และริดสีดวงลง ให้อุจจาระกะปิดกะปรอยไม่ปรกติ      เอกสารจดหมายเหตุพระอาการไข้ไม่ทราบ
             บางที่ให้ลงวันละ 3-4 ครั้ง ทำาให้ร่างกายผอมแห้งหา  พระองค์ใด ฉบับนี้เป็นเอกสารที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยว
             แรงมิได้ ด้วยวาโย เป็นมันทคิณี ยานี้ทำาให้ธาตุวัฒนะ  กับพระอาการ (ประชวร) ที่แสดงพร้อมทั้งรายการพระ

             ขึ้นโดยปรกติ  และเมื่อพระอาการดีตามลำาดับสังเกต  โอสถที่ใช้ถวายการรักษา รายการพระอาหารที่เสวย
                       [11]
             ได้จากลักษณะอุจจาระเป็นมูลโค ตั้งกอง และช่วงใน  ขณะทรงประชวร สามารถนำามาเป็นแนวทางในด้าน
             วันท้าย ๆ จึงได้ถวายพระโอสถหอมอินทร์จักร ซึ่งยา  การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับการวางยารักษา วิธีการใช้

             หอมเป็นยาปรับธาตุและเป็นยาที่สามารถแก้ได้หลาย  ยาที่หมอหลวงได้ถวายการรักษาพระอาการประชวร
             อาการ จากบันทึกจดหมายเหตุฉบับนี้ ได้แสดงให้เห็น  ในเวลาต่าง ๆ ในแต่ละวัน ตั้งแต่เริ่มทรงประชวรจน

             ว่า การจ่ายยาของหมอหลวงในราชสำานักนั้น มีหลัก  กระทั่งทุเลาลง ซึ่งจดหมายเหตุฉบับนี้ได้บันทึกถึงวัน
             การทั้งการตรวจอาการจากการใช้ปรอทเพื่อดูความ  ที่พระอาการดีขึ้น ก็ได้เลิกการบันทึกพระอาการ รวม
             ร้อน การสังเกตลักษณะอุจจาระในการร่วมวิเคราะห์  วันที่บันทึกทั้งหมด 14 วัน จากการวิจัยจึงสันนิษฐาน

             โรค เพื่อการปรับธาตุในร่างกาย ปรับยาในการรักษา  ว่าพระอาการไข้น่าจะทุเลาหายแล้วจึงได้เลิกการ
             ในแต่ละช่วงเวลา                             บันทึกจดหมายเหตุฉบับนี้ และผู้บันทึกน่าจะเป็นผู้

                 จากแนวทางการวางยารักษาที่ปรากฏในเอกสาร  ใกล้ชิดเจ้านายหรืออาจจะเป็นหมอหลวงผู้ถวายการ
             ต้นฉบับจดหมายเหตุพระอาการไข้ไม่ทราบพระองค์  รักษาเป็นผู้บันทึก โดยมีข้อเสนอแนะในการศึกษา
             ใด การวิจัยคิดว่า เจ้านายพระองค์นี้น่าจะประชวรด้วย  เปรียบเทียบกับจดหมายเหตุฉบับอื่น ๆ ที่มีบันทึก

             โรคทางระบบทางเดินอาหาร ประกอบกับหลักการจ่าย  เกี่ยวกับพระอาการไข้ และศึกษาถึงการออกฤทธิ์ของ
             ยาในการรักษาของหมอหลวงในราชสำานัก โดยการใช้  ยาในแต่ละขนานที่ได้เสวยต่ออย่างเป็นระบบ
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141