Page 107 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 107
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 329
กระตุ้นเส้นลมปราณ ส่งผลให้การไหลเวียนของเลือด ปวดจนต้องหยุดเรียนร้อยละ 1.2
เป็นไปได้สะดวกยิ่งขึ้น การลำาเลียงออกซิเจนและสาร โรงพยาบาลยางชุมน้อย เปิดให้บริการการ
อาหารไปยังเนื้อเยื่อเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ แพทย์ทางเลือกด้านการฝังเข็มด้วยศาสตร์การแพทย์
ทำาให้ของเสียบริเวณนั้นลดลง ทำาให้เนื้อเยื่อบริเวณที่ แผนจีน และจากการศึกษาทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง
มีการบาดเจ็บ ได้รับการซ่อมแซมให้กลับคืนสู่สภาพ พบว่า การฝังเข็มสามารถบรรเทาอาการของการ
ปกติ ปวดประจำาเดือนได้ ดังนั้น จึงมีความต้องการศึกษา
จากการสำารวจภาวะปวดประจำาเดือนในหญิงวัย ประสิทธิผลของการรักษาอาการปวดประจำาเดือนชนิด
เจริญพันธุ์ ของอำาเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ ปฐมภูมิ (primary dysmenorrhea) ด้วยการฝังเข็ม
อายุระหว่าง 15-45 ปี จำานวน 5,000 คน แบบสอบถาม แบบกำาหนดจุดคงที่ โรงพยาบาลยางชุมน้อย จังหวัด
เก็บเฉพาะผู้ที่ปวดประจำาเดือนจำานวน 2,800 คน คิด ศรีสะเกษ เพื่อนำามาใช้ในคลินิกบริการและเป็นทาง
เป็นร้อยละ 56 ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม เลือกในการรักษาสำาหรับผู้ที่มีอาการปวดประจำาเดือน
2554 ผลการสำารวจพบว่า อาการปวดประจำาเดือนจะ ต่อไป การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1. ศึกษาประสิทธิผล
เกิดขึ้นก่อนมีประจำาเดือนร้อยละ 48.5 ขณะมีภาวะ การรักษาอาการปวดประจำาเดือนชนิดปฐมภูมิ (pri-
ประจำาเดือนร้อยละ 34.1 และหลังมีประจำาเดือน mary dysmenorrhea)ด้วยการฝังเข็มแบบกำาหนด
ร้อยละ 1.8 ลักษณะอาการปวดประจำาเดือน ได้แก่ จุดคงที่ 2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลการรักษา
อาการปวดท้องร้อยละ 63.5 อาการปวดเมื่อยร่างกาย อาการปวดประจำาเดือนชนิดปฐมภูมิ (primary dys-
ร้อยละ 33.3 เต้านมคัดร้อยละ 27.1 ปวดหลังร้อยละ menorrhea) ด้วยการฝังเข็มแบบกำาหนดจุดคงที่กับ
23.1 อารมณ์แปรปรวนร้อยละ 19.7 เหนื่อยเพลีย ยาแผนปัจจุบัน และ 3. เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตและ
ร้อยละ 19.2 ระยะเวลาในการปวดประจำาเดือน 1 วัน ความพึงพอใจ ของผู้รักษาอาการปวดประจำาเดือน
ร้อยละ 32.7 ปวดประจำาเดือน 2 วันร้อยละ 28.1 ปวด ชนิดปฐมภูมิภายหลังได้รับการรักษาโดยวิธีการฝัง
ประจำาเดือน 3 วันร้อยละ 20.2 และปวดประจำาเดือน 4 เข็มแบบกำาหนดจุดคงที่กับการรักษาด้วยการแพทย์
วันร้อยละ 6.3 ระยะเวลาเป็นประจำาเดือน 3 วันร้อยละ แผนปัจจุบัน
44.5 รองลงมา 4 วันร้อยละ 28.0, 5 วันร้อยละ 10.8, 2
วันร้อยละ 7.3 ลักษณะความรุนแรงอาการปวดประจำา ระเบียบวิธีศึกษ�
เดือน ปวดเล็กน้อยร้อยละ 45.8 รองลงมาปวดปาน วัสดุ
กลางร้อยละ 37.7 และปวดรุนแรงร้อยละ 5.2 วิธีการ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
รักษาปวดประจำาเดือนมากที่สุดคือ นอนพักร้อยละ ประชากรที่ศึกษา คือ เพศหญิงอายุระหว่าง
้
64.8 ประคบนำาอุ่นร้อยละ 27.5 และรับประทานยา 15-45 ปี อาศัยในอำาเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ
แก้ปวดร้อยละ 19.9 ตามลำาดับ และผลกระทบของ ระหว่างเดือนตุลาคม 2555-กันยายน 2561 และได้รับ
อาการปวดต่อการดำาเนินชีวิตประจำาวัน ปวดแต่ยัง การวินิจฉัยว่ามีภาวะปวดประจำาเดือนชนิดปฐมภูมิ
ทำางานประจำาได้ร้อยละ 70.2 ปวดแต่เรียนหนังสือได้ โดยไม่มีโรคประจำาตัวอื่นใด จำานวนรวมทั้งสิ้น 70 ราย
ร้อยละ 12.2 ปวดจนต้องหยุดงานร้อยละ 3.1 และ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ