Page 103 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 103
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 325
อาการข้างเคียงที่พบคือปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ ผู้ป่วยเบาหวานได้ และมีความปลอดภัยต่อไตและตับ
(dyspepsia) และอาการนำ้าตาลในเลือดตำ่า (clinical
hypoglycemia) โดยในการศึกษานี้พบอาการเพิ่ม ข้อสรุป
มากขึ้นโดยเฉพาะเมื่อขนาดยามะระขี้นกต่อมื้อเพิ่ม การวิจัยแบบไม่มีกลุ่มควบคุมครั้งนี้ พบว่าหลัง
มากขึ้นในคนที่ใช้มะระขี้นก 1,350 มิลลิกรัมต่อมื้อ จากเสริมการรักษาด้วยมะระขี้นกแคปซูลขนาด 2,700
[15]
สอดคล้องกับการศึกษาของอัลจนา และคณะ ที่พบ มิลลิกรัมต่อวัน นาน 12 สัปดาห์ พบว่า สามารถลด
อาการข้างเคียงทั้ง 2 เช่นกันและพบว่าในกลุ่มที่ให้ ระดับนำ้าตาลสะสมเฉลี่ยได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ
มะระขี้นก 1,600 มิลลิกรัมต่อวัน มีรายงานจำานวนราย และไม่พบอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงในผู้ป่วยที่รับ
ที่เกิดผลข้างเคียงมากกว่ากลุ่มที่ได้รับยามะระขี้นก ประทานมะระขี้นกในขนาดตามแพทย์สั่ง
800 มิลลิกรัมต่อวัน และเป็นไปในทางเดียวกับการ ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้ ได้แก่ ควรมีการ
[11]
ศึกษาของ Inayat และคณะ ที่รายงานผลข้างเคียง ศึกษาวิจัยทางคลินิกเพิ่มเติมในกลุ่มประชากรขนาด
ของมะระขี้นกไว้ว่า ทำาให้เกิดผลข้างเคียงต่อระบบทาง ใหญ่ขึ้น และให้ยามะระขี้นกนานกว่า 12 สัปดาห์
เดินอาหาร เช่น อาการไม่สบายท้อง อาการปวดแสบ เพื่อยืนยันประสิทธิผล, ภาวะแทรกซ้อน, อาการไม่
ร้อนท้อง โดยพบว่าในกลุ่มที่ได้รับมะระขี้นกขนาด พึงประสงค์และเพื่อให้สามารถนำาผลการศึกษาไป
4,000 มิลลิกรัมต่อวัน มีรายงานว่าเกิดอาการข้างเคียง ประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2
มากกว่ากลุ่มที่ได้รับมะระขี้นกขนาด 2,000 มิลลิกรัม ในระยะยาวต่อไป
ต่อวัน จากข้อมูลดังกล่าวทำาให้ทราบว่าผลข้างเคียงที่
พบได้บ่อยคือ อาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่และอาการ กิตติกรรมประก�ศ
นำ้าตาลในเลือดตำ่า ซึ่งสัมพันธ์กับปริมาณของมะระ ในการดำาเนินการศึกษาครั้งนี้ ผู้ดำาเนินการศึกษา
ขี้นกต่อมื้อที่ได้รับ ขอขอบคุณ แพทย์หญิงโสรยา วงศ์วิไล ผู้อำานวยการ
ในการศึกษานี้ พบว่าการเสริมการรักษาด้วย ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองชลบุรี ที่ได้อนุญาตให้มีการ
มะระขี้นกชนิดแคปซูลในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ดำาเนินการศึกษานี้ ขอขอบคุณ แพทย์หญิงมาลินี
สามารถลดระดับนำ้าตาลสะสมลงได้อย่างมีนัยสำาคัญ บุณยรัตพันธุ์ ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของผู้ดำาเนินการ
ทางสถิติ แต่ไม่พบความแตกต่างทางสถิติในการลด ศึกษาในการทำาวิจัยครั้งนี้ และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่
ระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหาร ซึ่งอาจเป็นเพราะ แผนกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองชลบุรี
ระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารมีปัจจัยหลายอย่าง ทุกท่านซึ่งได้ช่วยอำานวยความสะดวกในการศึกษานี้
ที่ทำาให้เปลี่ยนแปลงได้ง่ายดังที่กล่าวมาข้างต้น เมื่อ เป็นอย่างดี
[1]
คำานึงถึงแนวทางเวชปฏิบัติสำาหรับโรคเบาหวาน ซึ่ง
ได้กำาหนดเอาระดับนำ้าตาลสะสมเป็นเป้าหมายในการ References
ดูแลรักษาผู้ป่วย ในการศึกษานี้จึงเชื่อได้ว่าการเสริม 1. Diabetes Association of Thailand. Clinical practice
guideline for diabetes 2017. 3rd ed. Pathum Thani:
การรักษาด้วยมะระขี้นกชนิดแคปซูลในผู้ป่วยเบา- Romyen media company limited; 2017. 211 p. (in Thai)
หวานชนิดที่ 2 สามารถนำาไปใช้ในการเสริมการรักษา 2. Department of Disease Control, Ministry of Public Health.