Page 111 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 111
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 333
ภ�พที่ 1 ตำ�แหน่งจุดฝังเข็มรักษ�ปวดประจำ�เดือนที่ใช้ในก�รวิจัย
- SanYinJiao (SP 6) ปักเข็มตรง ลึก 3.3.2 สรุปผลการดำาเนินงานภายหลังการ
1-1.5 ชุ่น ทั้งสองข้าง รักษาทั้ง 2 กลุ่มเมื่อครบ 1 ปี
- QiHai (CV 6) ปักเข็มตรง ลึก 1-1.5 4. การประเมินผลการรักษา โดยใช้ visual
[4]
ชุ่น analogue pain scale ร่วมกับแบบทดสอบเครื่อง
โดยกระตุ้นจุดจนรู้สึก de qi หรือรู้สึกตึง ๆ หรือ ชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ
มึน ๆ หรือหน่วง ๆ หรือชา ๆ ที่จุดฝังเข็ม หลังจากนั้น ฉบับภาษาไทย และนำาคะแนนทั้ง 2 กลุ่มมาเปรียบ
ใช้เครื่องกระตุ้นไฟฟ้ากระตุ้นเข็มต่อเนื่องนาน 30 นาที เทียบกันทางสถิติ โดยแบบสอบถามที่ใช้เก็บข้อมูลมี
ใช้เข็มขนาด 0.25 x 40 มิลลิเมตร ฝังเข็มวันเว้นวันจน ดังนี้
ครบ 3 ครั้งก่อนมีประจำาเดือน 1-2 วันในแต่ละรอบ 4.1 แบบสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการฝังเข็ม
เดือนจนครบ 3 รอบเดือนติดต่อกัน หากประจำาเดือน บำาบัดอาการปวดประจำาเดือน โรงพยาบาลยางชุมน้อย
มาก่อนที่จะฝังเข็มครบ 3 ครั้งในแต่ละรอบเดือนก็ให้ อำาเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ
ฝังเข็มจนครบ 3 ครั้ง ตามนัดเดิม ไม่ว่าจะมีประจำา 4.2 บันทึกการฝังเข็มบำาบัดการปวดประจำาเดือน
เดือนหรือไม่ ติดตามทุกครั้งที่มีการฝังเข็ม
3.2.4 ดำาเนินการรักษาตามแนวทางปฏิบัติ 4.3 บันทึกการใช้ยาบำาบัดการปวดประจำาเดือน
จนครบกำาหนดเวลา ติดตามทุกครั้งที่มีการรับยา
3.3 ระยะหลังการรักษา 4.4 แบบประเมินความเจ็บปวดประจำาเดือน
3.3.1 ติดตามผลการรักษา โดยสอบถาม (VAS) ติดตาม จำานวน 5 ครั้ง [เริ่มการรักษา (T1),
อาการปวดประจำาเดือนที่ 3 และ 6 เดือนหลังสิ้นสุด ระหว่างการรักษา (T2), จบการรักษา (T3), หลังการ
การรักษาในแต่ละกลุ่ม รักษา 3 เดือน (T4), หลังการรักษา 6 เดือน (T5)]