Page 112 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 112

334 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก     ปีที่ 18  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2563




                 4.5 เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัย  ความเจ็บปวด T1, T2, T3, T4 และ T5 ของกลุ่ม
             โลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–         เปรียบเทียบและกลุ่มทดลอง จำานวน 2 กลุ่ม และ
                                  [5]
             THAI) ติดตาม 2 ครั้ง ก่อนเริ่มการรักษาและหลังการ  เปรียบเทียบค่าคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการรักษา

             รักษา 6 เดือน                               โดยใช้สถิติ independent t-test
                 5.  การประเมินความปลอดภัย

                 5.1 กลุ่มที่ได้รับยาแก้ปวดชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์
             มีการให้ความรู้เกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของยาและ          ผลก�รศึกษ�
             ผลข้างเคียงอย่างละเอียด รวมทั้งการแก้ไขอาการ     1) กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผน

             เบื้องต้นก่อนมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาล          ปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยระดับความปวดของหญิงปวด
                 5.2 กลุ่มที่ได้รับการฝังเข็ม มีการให้ความรู้เกี่ยว  ประจำาเดือนชนิดปฐมภูมิก่อนเข้าโปรแกรมอยู่ใน

             กับการฝังเข็มและการเตรียมตัวทั้งก่อนมารับการฝัง  ระดับปานกลาง (M = 6.11, SD = 1.58) หลังเข้าร่วม
             เข็มและขณะมาฝังเข็ม ผลข้างเคียงของการฝังเข็มและ  โปรแกรมลดลงจากระดับปานกลางเป็นระดับน้อย
             อันตรายจากการฝังเข็ม การสังเกตความผิดปกติที่เกิด  (M = 2.91, SD = 2.31) และเมื่อเปรียบเทียบความ

             ขึ้นรวมทั้งการแก้ไขอาการเบื้องต้นก่อนมาพบแพทย์ที่  แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยระดับความปวดของหญิง
             โรงพยาบาล                                   ปวดประจำาเดือนชนิดปฐมภูมิก่อนและหลังเข้าร่วม
                 6. วิธีทางสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล    โปรแกรมด้วยสถิติการทดสอบที พบว่า กลุ่มเปรียบ

                 6.1 วิเคราะห์ข้อมูลสถิติพรรณนาในการ     เทียบมีค่าเฉลี่ยระดับความปวดของหญิงปวดประจำา
             วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ จำานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย   เดือนชนิดปฐมภูมิหลังเข้าร่วมโปรแกรมลดลงกว่า
             ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน                        ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p <

                 6.2 วิเคราะห์โดยสถิติอนุมานในการเปรียบ  0.05).
             เทียบความเจ็บปวด โดยใช้สถิติ paired t-test เปรียบ     2) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย

             เทียบระดับความเจ็บปวด T1, T2, T3, T4 และ T5   ระดับความปวดประจำาเดือนของกลุ่มทดลองและกลุ่ม
             ของกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน และเปรียบเทียบระดับ  เปรียบเทียบเมื่อมารับบริการด้วยสถิติการทดสอบ



             ต�ร�งที่ 1 ผลของค่�เฉลี่ยระดับคว�มปวดประจำ�เดือนชนิดปฐมภูมิของก�รรักษ�ในแต่ละครั้งที่เข้�รับบริก�ร

                                          กลุ่มทดลอง                       กลุ่มเปรียบเทียบ
              ครั้งที่เข้�รับบริก�ร
                                  M        SD         ระดับ         M         SD          ระดับ
                    1            6.12     2.384      ป�นกล�ง       6.11      1.617      ป�นกล�ง
                    2            2.76     2.996        น้อย        4.28      2.133      ป�นกล�ง
                    3            2.00     2.850        น้อย        3.14      2.180        น้อย
                    4            1.97     2.823        น้อย        2.78      2.294        น้อย
                    5            1.88     2.837        น้อย        2.94      2.292        น้อย
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117