Page 102 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 102
324 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
สำาคัญทางสถิติ (p < 0.001) ซึ่งสอดคล้องกับการ 0.02) และเมื่อให้มะระขี้นก 4,000 มิลลิกรัมต่อวัน พบ
[11]
ศึกษาของ Inayat และคณะ ซึ่งให้มะระขี้นกใน ว่าสามารถลดระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารได้
ปริมาณใกล้เคียงกับการศึกษานี้ คือ 2,000 มิลลิกรัม เฉลี่ย 15 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรอย่างมีนัยสำาคัญทาง
ต่อวันเป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่าสามารถลด สถิติ (p < 0.04) และการศึกษาของ Michael และ
[13]
ระดับนำ้าตาลสะสมได้เฉลี่ย 0.8 (p < 0.05) และเมื่อ คณะ ให้มะระขี้นก 2,500 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นระยะ
ให้มะระขี้นกขนาด 4,000 มิลลิกรัมต่อวัน พบว่า เวลา 8 สัปดาห์ พบว่าระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอด
สามารถลดระดับนำ้าตาลสะสมได้เฉลี่ย 1.2 (p < 0.02) อาหารลดลงเฉลี่ย 5.6 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรอย่างมีนัย
[13]
ขณะที่การศึกษาของ Michael และคณะ ให้มะระ สำาคัญทางสถิติ (p < 0.01) การที่ผลการลดระดับ
ขี้นก 2,500 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ นำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารออกมาแตกต่างกันใน
พบว่าระดับนำ้าตาลสะสมลดลง 0.1 แต่ไม่มีความแตก แต่ละการศึกษา เนื่องจากระดับนำ้าตาลหลังอดอาหาร
ต่างทางสถิติ ซึ่งอาจเป็นเพราะระยะเวลาในการ เป็นค่าที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย เปลี่ยนแปลงเป็น
ติดตาม 8 สัปดาห์ สั้นเกินไป จึงยังไม่เห็นความ รายวัน โดยมีปัจจัยหลายอย่าง เช่น การกินอาหารใน
เปลี่ยนแปลงของระดับนำ้าตาลสะสมอย่างชัดเจน วันนั้น ๆ ชนิดของอาหารที่มี glycemic index มาก
ในการตรวจติดตามระดับนำ้าตาลในเลือดหลัง เป็นต้น จึงส่งผลให้ผลการศึกษาแต่ละการศึกษาออก
อดอาหาร ในระยะที่ให้ยามะระขี้นกแคปซูล ขนาด มาแตกต่างกัน ในการศึกษาต่อ ๆ ไป หากสามารถ
2,700 มิลลิกรัมต่อวัน ตรวจติดตามทุก 4 สัปดาห์ จน ควบคุมเรื่องชนิดอาหารที่รับประทานก็อาจได้ผลการ
ครบ 12 สัปดาห์ พบว่าสามารถลดระดับนำ้าตาลใน ศึกษาที่ชัดเจนมากขึ้น
เลือดหลังอดอาหารลดลงได้ 9.0, 4.4 และ 2.7 ในการศึกษาผลกระทบต่อการทำางานของไต
มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ตามลำาดับ ซึ่งไม่มีความแตกต่าง และตับหลังจากได้รับมะระขี้นก 2,700 มิลลิกรัมต่อ
ทางสถิติ ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของ Hulya และคณะ [16] วันนาน 12 สัปดาห์ โดยตรวจติดตาม eGFR, AST
ที่ได้ทบทวนวรรณกรรมเรื่องการศึกษาที่ใช้มะระขี้นก และ ALT ในสัปดาห์ที่ 4, 8 และ 12 พบว่าค่า eGFR
ลดระดับนำ้าตาลในเลือดที่เป็น small-scale non- ที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.31, 0.003 และ 0.41 มิลลิลิตรต่อนาที
RCTs พบว่ามะระขี้นกมีฤทธิ์ควบคุมระดับนำ้าตาลจริง ตามลำาดับ อย่างไม่มีความแตกต่างทางสถิติ สอดคล้อง
[18]
แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ขณะที่การศึกษาของ กับการศึกษาของอุทัย และคณะ ที่ให้มะระขี้นก
[15]
อัลจนา และคณะ ที่พบว่าการใช้มะระขี้นก 800- 6,000 มิลลิกรัมต่อวัน นาน 16 สัปดาห์ และตรวจค่า
1,600 มิลลิกรัมต่อวัน สามารถลดระดับนำ้าตาลใน การทำางานของไตโดยดูค่า creatinine ไม่พบความ
เลือดหลังอดอาหารได้เฉลี่ย 26 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร แตกต่างทางสถิติเมื่อเทียบกับค่าเริ่มต้น และค่า AST
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.001), การศึกษาของ และ ALT ที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีความแตกต่างทาง
Inayat และคณะ ซึ่งให้มะระขี้นก 2,000 มิลลิกรัม สถิติ ก็สอดคล้องกับการศึกษาของอุทัย และคณะ [18]
[11]
ต่อวันเป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่าสามารถลด เช่นกัน จากข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงความปลอดภัย
ระดับนำ้าตาลในเลือดหลังอดอาหารได้เฉลี่ย 13 ต่อการทำางานของไตและตับว่าสามารถใช้มะระขี้นก
มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < แคปซูลในระยะยาว 12 สัปดาห์ได้