Page 80 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 80

430 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           หน้าที่ควบคุมวงจรการนอนหลับ และยังมีรายงานว่า  2. ก�รเตรียมส�รสกัด
           สารเมลาโทนินสามารถป้องกันการเสื่อมของระบบ       นำาตัวอย่างใบหม่อนที่เก็บได้มาล้างทำาความ

           ประสาทซึ่งเป็นสาเหตุของโรคทางสมอง เช่น โรค   สะอาด และบดให้ละเอียด เติมเมทานอล ในอัตราส่วน
                                [6]
           อัลไซเมอร์ พาร์กินสันได้ และมีคุณสมบัติต้าน  ตัวอย่าง 500 กรัม ต่อเมทานอล 1 ลิตร นำาไปสกัดแยก
                                                 [12]
           ออกซิเดชันสูงเมื่อเทียบกับสารต้านออกซิเดชันทั่วไป    สารด้วยการสั่นสะเทือนของอัลตราโซนิค (sonicate)
                การใช้ชีวิตประจำาวันในสังคมที่เร่งรีบ ความ   นาน 20 นาที กรองด้วยกระดาษกรองเบอร์ 1 และ
           เครียด การรับประทานอาหารที่ไม่สมดุล รวมถึง  ระเหยแห้งตัวทำาละลายออกด้วยเครื่องระเหยแห้ง
                                                                             o
           มลพิษ ทำาให้ร่างกายเกิดภาวะเครียดออกซิเดชัน   แบบสุญญากาศที่อุณหภูมิ 40 C แล้วนำาไปทำาให้แห้ง
           (oxidative stress) ขึ้น โดยปกติร่างกายจะสามารถ  ด้วยเครื่องทำาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ได้ปริมาณสาร
           ผลิตสารต้านออกซิเดชันเองได้แต่อาจไม่เพียงพอ   สกัดอยู่ในช่วงร้อยละ 4.3-6.3 ของนำ้าหนักสด สาร
           ดังนั้นการรับประทานอาหารบางชนิดหรือการใช้พืช  สกัดที่ได้ใช้สำาหรับวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน

           สมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน จะช่วยให้ร่างกายได้  ปริมาณฟีนอลิกรวมและปริมาณฟลาโวนอยด์รวม
           รับสารต้านออกซิเดชันเพิ่มขึ้น ซึ่งมีส่วนช่วยลดความ  และวิเคราะห์ปริมาณเมลาโทนินโดยกำาหนดขนาดของ

           เสี่ยงในการเกิดโรคที่เกิดจากอนุมูลอิสระได้ และเพื่อ  กลุ่มตัวอย่าง n = 3
           เป็นการส่งเสริมและเพิ่มมูลค่าให้กับหม่อน การวิจัย
           ในครั้งนี้จึงมีความสนใจศึกษาฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน  3. ก�รศึกษ�ฤทธิ์ต้�นออกซิเดชัน

           ของใบหม่อนรวมถึงปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม       3.1 วิเคราะห์ด้วยวิธี DPPH radical
           ฟลาโวนอยด์รวม และเมลาโทนินของหม่อนจำานวน 5   scavenging assay เตรียมสารสกัดตัวอย่าง

           พันธุ์ คือบุรีรัมย์ 60 ใหญ่บุรีรัมย์ สกลนคร คุณไพ และ  ความเข้มข้นต่าง  ๆ  ผสมกับสารละลาย
           ศรีสะเกษ ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง และเป็นพันธุ์ที่  DPPH ที่มีความเข้มข้น 200 µM ในอัตราส่วน
           ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า   ที่เท่ากัน ตั้งไว้ในที่มืดนาน 30 นาที นำาไปวัดค่าการดูด

           สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จังหวัดขอนแก่น ส่งเสริม  กลืนแสงที่ความยาวคลื่น 517 นาโนเมตร ด้วยเครื่อง
           ให้มีการปลูก [13]                           microplate reader โดยใช้โทรลอกซ์เป็นสาร
                                                       มาตรฐาน และคำานวณหา %inhibition ซึ่งคำานวณได้
                       ระเบียบวิธีศึกษ�                จากสมการ [(A control -A sample )/A control ] × 100 โดย

                                                       A sample  = ค่าการดูดกลืนแสงของสารละลาย DPPH ที่
           1. ตัวอย่�งพืช                              เติมสารตัวอย่าง และ A control  = ค่าการดูดกลืนแสง

                เก็บใบอ่อนของหม่อน (ช่วงใบที่ 1-6) จำานวน 5   ของสารละลาย DPPH ที่ไม่เติมสารตัวอย่าง คำานวณ
           พันธุ์ ได้แก่ บุรีรัมย์ 60 ใหญ่บุรีรัมย์ สกลนคร คุณไพ   หาค่า IC  จากสมการเส้นตรงในช่วงที่เป็นเส้นตรง
                                                              50
           และศรีสะเกษ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 จากศูนย์  ของกราฟระหว่างความเข้มข้นของสารสกัด (แกน x)
           หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์   กับ %inhibition (แกน y) และนำา 50 มาแทนค่า y ใน
           พระบรมราชินีนาถ จังหวัดขอนแก่น              สมการจะได้เป็นค่า IC 50 [14]
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85