Page 81 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 81

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  431




                 3.2 วิเคราะห์ด้วยวิธี ABTS radical     เครื่อง microplate reader ที่ความยาวคลื่น 700 nm
            scavenging assay                            และคำานวณหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม โดย

                                    +
                 เตรียมสารละลาย ABTS  โดยเตรียม 7 mM    เทียบจากกราฟมาตรฐาน gallic acid รายงานเป็น
            ABTS ผสมกับ 2.45 mM potassium persulfate    mgGAE/g extract [17]
            ในอัตราส่วน 1:1 แล้วเก็บในที่มืดให้เกิดปฏิกิริยาเป็น

            เวลา 16 ชั่วโมง จากนั้นเจือจางให้มีค่าการดูดกลืนแสง  5. ก�รวิเคร�ะห์ห�ปริม�ณฟล�โวนอยด์รวม
            ที่ 0.8-0.9 ก่อนทำาการทดสอบ เตรียมสารสกัดตัวอย่าง     วิเคราะห์หาปริมาณฟลาโวนอยด์รวมของสาร
                                                 +
            ความเข้มข้นต่าง ๆ ผสมกับสารละลาย ABTS  ใน   สกัดโดยใช้วิธี aluminium chloride colorimetric
            อัตราส่วนที่เท่ากัน ตั้งไว้ในที่มืดนาน 6 นาที และนำา  assay เตรียมสารสกัดใบหม่อน ในความเข้มข้น
            ไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 700 นาโน  ต่าง ๆ ผสมกับสารละลาย 2% aluminium chloride
            เมตร ด้วยเครื่อง microplate reader โดยใช้โทรลอกซ์   ในอัตราส่วนที่เท่ากัน นำาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่

            เป็นสารมาตรฐาน และคำานวณค่า IC 50 [15]      ความยาวคลื่น 415 นาโนเมตร ด้วยเครื่อง micro-
                 3.3 วิเคราะห์ด้วยวิธี Ferric ion Reducing   plate reader โดยเทียบจากกราฟมาตรฐาน querce-

            Antioxidant Power (FRAP)                    tin รายงานเป็น mgQE/g extract [18]
                 เตรียมสารละลาย FRAP และสร้างกราฟสาร
            มาตรฐาน ferrous sulfate (FeSO .7H O) ที่ความ  6. ก�รวิเคร�ะห์ปริม�ณเมล�โทนิน
                                       4   2
            เข้มข้นในช่วง 0.001-0.2 mM ทดสอบโดยผสมสาร        ในการวิเคราะห์ปริมาณเมลาโทนินด้วยเครื่อง
            สกัดตัวอย่าง กับสารละลาย FRAP ในอัตราส่วน 2:8   Liquid Chromatography–Mass Spectrom-

            ตั้งในที่มืดนาน 4 นาที จากนั้นวัดค่าการดูดกลืนแสง  etry (LCMS 8030, Shimadzu Corp, Kyoto,
            ที่ 595 nm โดยเปรียบเทียบกับสารมาตรฐานโทรลอกซ์   Japan) ใช้คอลัมน์ C-18 (Insertsil ODS-3 C18;
            รายงานค่าเป็น FeSO  mmol/100 g extract จากการ  GL Sciences Inc., Japan) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
                            4
            คำานวณด้วยสูตร [(ความเข้มข้น ferrous sulfate ×   ภายใน 2.1 mm ความยาว 150 mm ขนาดอนุภาค
            ปริมาตรทั้งหมด (ml) × 100)/(ปริมาตรของตัวอย่าง   3 ไมโครเมตร โดยมี injection volume เท่ากับ 2
            (ml) × ความเข้มข้นของตัวอย่าง (g/ml))]/1,000 [16]  ไมโครลิตร เฟสเคลื่อนที่ที่ใช้ คือ 0.45% formic acid

                                                        : acetonitrile (1:1) กำาหนดอัตราการไหลของเฟส
            4. ก�รวิเคร�ะห์ห�ปริม�ณส�รประกอบฟีนอลิกรวม  เคลื่อนที่เท่ากับ 0.2 มล./นาที ทำาให้เกิดไอออนโดย

                 วิเคราะห์หาปริมาณฟีนอลิกรวมของสาร      ใช้เทคนิค Electrospray ionization (ESI) ตรวจ

            สกัดโดยใช้วิธี folin ciocalteu colorimetric   วัดมวลด้วย triple quadrupoles mass spec-
            method เตรียมสารสกัดความเข้มข้นต่าง ๆ ผสม   trometer with positive mode วิเคราะห์มวลโดย

            กับ 10% folin-ciocalteu’s reagent และสารละลาย   วิธี Multiple Reaction Monitoring (MRM) โดย
            7% sodium carbonate ในอัตราส่วน 2:10:8 ทิ้งไว้  ดูการเปลี่ยนแปลง m/z จาก 233 เป็น 174 เทียบกับ
            ในที่มืด 30 นาที จากนั้นวัดค่าการดูดกลืนแสงโดยใช้  สารมาตรฐานเมลาโทนิน [19]
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86