Page 75 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 75

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  425




            ตารางที่ 3 ก�รวิเคร�ะห์ปริม�ณส�รเคมีบ่งชี้ในตัวอย่�งตำ�รับย�ธ�ตุอบเชย

                                                             ปริมาณสาร (% w/w)
             สารเคมีบ่งชี้
                                         cinnamic acid          glycyrrhizin           eugenol

                L-1                      0.05 + 0.00           1.73 + 0.15           2.63 + 0.03
                L-2                      0.05 + 0.00           1.23 + 0.04           3.38 + 0.09
                L-3                      0.05 + 0.00            1.0 + 0.02           0.19 + 0.02
                H-1                      0.11 + 0.00           2.29 + 0.17           3.19 + 0.05
                H-2                      0.07 + 0.00            3.1 + 0.42           2.87 + 0.10
                H-3                      0.04 + 0.00            2.0 + 0.07           0.83 + 0.04
                H-4                      0.06 + 0.01            0.7 + 0.05           0.68 + 0.01
                H-5                      0.04 + 0.00            2.0 + 0.19           2.09 + 0.30
            หมายเหตุ  L1 = เตรียมจ�กเครื่องย�จังหวัดขอนแก่น L2 = เตรียมจ�กเครื่องย�จังหวัดอุบลร�ชธ�นี L3 = เตรียมจ�กเครื่องย�
                     จังหวัดกรุงเทพมห�นคร
                     H-1 = ผลิตภัณฑ์จ�กจังหวัดอุบลร�ชธ�นี H-2 = ผลิตภัณฑ์จ�กจังหวัดอำ�น�จเจริญ H-3 = ผลิตภัณฑ์จ�กจังหวัด
                     ขอนแก่น H-4 = ผลิตภัณฑ์จ�กจังหวัดอู่ทอง H-5 = ผลิตภัณฑ์จ�กจังหวัดพิษณุโลก
























               ภาพที่ 3 แสดงกร�ฟเปรียบเทียบปริม�ณส�รเคมีบ่งชี้ทั้ง 3 ชนิดที่วิเคร�ะห์ได้ในย�ธ�ตุอบเชยจ�กแหล่งต่�ง ๆ


            เอกลักษณ์โดยเปรียบเทียบกับ retention time ของ      สารเคมีบ่งชี้ที่ใช้ในการวิเคราะห์หาปริมาณครั้ง
            peak สารมาตรฐานทั้ง 5 ชนิด ดังนั้นวิธีวิเคราะห์นี้  นี้ ได้แก่ สาร cinnamic acid, สาร glycyrrhizin และ

            สามารถใช้เป็นวิธีที่ใช้พิสูจน์เอกลักษณ์เบื้องต้นของ  สาร eugenol จากรายงานการศึกษาฤทธิ์ต่อระบบทาง
            ตำารับยาธาตุอบเชยได้ แต่ยังพบว่ามี peak อื่น ๆ อีก  เดินอาหารพบว่าสาร cinnamic acid สามารถยับยั้ง

            ใน chromatogram ของตัวอย่างยาธาตุ จึงควรทำาการ  การทำางานของ H /K -ATPase ซึ่งเกี่ยวข้องกับการ
                                                                        +
                                                                     +
            ศึกษาต่อไปเพื่อจำาแนกชนิดสารทั้งหมดและสร้างเป็น  หลั่งกรดในกระเพาะอาหาร และยับยั้งการเจริญของ
            ลายพิมพ์เอกลักษณ์ทางเคมีของยาธาตุอบเชย      Helicobacter pyrori ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิด
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80