Page 84 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 84

434 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           60 และสกลนคร ดังแสดงในตารางที่ 1            พบมากในอาหาร เป็นสารทุติยภูมิที่สร้างขึ้นโดยพืช มี
                                                       โครงสร้างประกอบด้วยหมู่ไฮดรอกซีเกาะอยู่กับ
                         อภิปร�ยผล                     วงแหวนเบนซีน โดยฟลาโวนอยด์เป็นสารกลุ่มหนึ่ง


                                                                         [20]
                การศึกษาความสามารถในการต้านปฏิกิริยา   ของสารประกอบฟีนอลิก  และจากผลการวิเคราะห์
           ออกซิเดชันของใบหม่อนทั้ง 5 พันธุ์ พบว่าเมื่อ  พบว่าแต่ละพันธุ์มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิก

           ทดสอบความสามารถในการให้ไฮโดรเจนอะตอมของ     รวม ฟลาโวนอยด์รวม และเมลาโทนินแตกต่างกัน
           สารต้านอนุมูลอิสระแก่อนุมูลของ DPPH ด้วยโมเดล   โดยพันธุ์ใหญ่บุรีรัมย์ มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิก
           DPPH พบว่าหม่อนพันธุ์ใหญ่บุรีรัมย์มีความ    รวม และเมลาโทนินสูงที่สุด ในขณะที่พันธุ์บุรีรัมย์

           สามารถในการให้ไฮโดรเจนอะตอมแก่อนุมูลของ     60 มีปริมาณฟลาโวนอยด์รวมสูงที่สุด แสดงให้เห็นว่า
           DPPH มากที่สุด รองลงมาคือพันธุ์สกลนคร คุณไพ   ความต่างของพันธุ์เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อ
           บุรีรัมย์ 60 และศรีสะเกษ ตามลำาดับ และเมื่อทดสอบ  ปริมาณสารสำาคัญ รวมถึงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา และจะ

           ด้วยวิธี FRAP ซึ่งเป็นการทดสอบความสามารถของ  เห็นได้ว่าปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม ฟลาโว-
           สารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันด้วยการรีดิวซ์อนุมูล  นอยด์รวม และเมลาโทนินแปรผันตรงกับฤทธิ์การ

           อิสระ สามารถจัดลำาดับความแรงในการรีดิวซ์อนุมูล  ต้านออกซิเดชัน เนื่องจากสารประกอบฟีนอลิก และ
           อิสระได้ทั้งหมด 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 หม่อนพันธุ์   ฟลาโวนอยด์ มีองค์ประกอบจำาพวกฟีนอลซึ่งมีความ
           ใหญ่บุรีรัมย์และสกลนคร กลุ่มที่ 2 พันธุ์บุรีรัมย์ 60   สามารถในการให้ไฮโดรเจน จึงทำาให้มีคุณสมบัติต้าน

                                                                [7-9]
           และคุณไพ และกลุ่มที่ 3 พันธุ์ศรีสะเกษ ตามลำาดับ   ออกซิเดชัน และเมลาโทนินยังมีคุณสมบัติต้าน
           ทั้งนี้เมื่อทดสอบฤทธิ์ต้านออกซิเดชันด้วยวิธี   ออกซิเดชันโดยสามารถกำาจัดอนุมูลอิสระ ได้หลาย

           ABTS เป็นการวัดความสามารถต้านออกซิเดชัน     ชนิด เช่น อนุมูลไฮดรอกซิล (OH ) ไฮโดรเจนเปอร์-
                                                                                 •
           โดยดูความสามารถกำาจัดอนุมูล ABTS  ซึ่งถูกออก  ออกไซด์ (H O ) อนุมูลเปอร์ออกซิล(ROO ) และซิง
                                          +
                                                                                        •
                                                                2 2
           ซิไดส์โดยอนุมูลเปอร์ออกซี สามารถจัดลำาดับฤทธิ์  เกลทออกซิเจน (O ) เป็นต้น
                                                                             [21]
                                                                      •
                                                                     2
           ต้านออกซิเดชันผ่านกลไกนี้ได้ทั้งหมด 3 กลุ่ม กลุ่มที่      จะเห็นได้ว่าความต่างของพันธุ์มีอิทธิพลต่อ
           1 พันธุ์สกลนคร และศรีสะเกษ กลุ่มที่ 2 พันธุ์บุรีรัมย์   ปริมาณสารสำาคัญในพืช รวมถึงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
           60 และใหญ่บุรีรัมย์ และกลุ่มที่ 3 พันธุ์คุณไพ ตาม  ดังนั้นการคัดเลือกพันธุ์ที่เหมาะสม จึงเป็นอีก
           ลำาดับ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการทดสอบฤทธิ์  ปัจจัยหนึ่งที่สำาคัญในการวิจัยเพื่อพัฒนาเป็น
           ต้านออกซิเดชันทั้ง 3 วิธี ให้ผลการทดลองที่แตกต่าง  ผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ในการเลือกพันธุ์หม่อนเพื่อพัฒนา
           กัน โดยพันธุ์ใหญ่บุรีรัมย์มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันที่  เป็นผลิตภัณฑ์ยังจำาเป็นต้องคำานึงถึงปัจจัยอื่น ๆ

           สามารถให้ไฮโดรเจนอะตอมแก่อนุมูลอิสระ และรับ  ร่วมด้วย เช่น ปริมาณผลผลิตต่อปี ความต้านทาน
           อิเล็กตรอนจากอนุมูลอิสระได้สูงที่สุด ในขณะที่พันธุ์  โรค แมลง และการเจริญเติบโตได้ดีในทุกสภาพ

           สกลนคร และศรีสะเกษ มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันที่  แวดล้อม ซึ่งพันธุ์หม่อนที่นำามาวิจัยในครั้งนี้เป็น
           สามารถที่ให้อิเล็กตรอนกับอนุมูลอิสระได้สูงที่สุด  พันธุ์ที่เหมาะสม และได้รับการส่งเสริมให้ปลูกจาก
                สารประกอบฟีนอลิกเป็นสารต้านออกซิเดชันที่  กรมหม่อนไหม ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลใน
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89