Page 83 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 83
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 433
ออกซิเดชันด้วยวิธี ABTS พบว่าพันธุ์สกลนคร พบว่าพันธุ์ใหญ่บุรีรัมย์มีปริมาณสารประกอบ
และพันธุ์ศรีสะเกษ มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันสูงสุดโดย ฟีนอลิกรวมสูงที่สุด เท่ากับ 390.89 ± 3.90
มีค่า IC เท่ากับ 76.19 ± 2.29 µg/ml และ 75.24 ± mgGAE/g extract พันธุ์บุรีรัมย์ 60 มีปริมาณ
50
1.71 µg/ml ตามลำาดับ และพันธุ์คุณไพมีฤทธิ์ต้าน ฟลาโวนอยด์รวมสูงที่สุดเท่ากับ 37.19 ± 0.53 mgQE/g
ออกซิเดชันตำ่าสุดโดยมีค่า IC เท่ากับ 88.71 ± 1.47 extract และเมื่อวิเคราะห์ปริมาณเมลาโทนินด้วย
50
µg/ml (ภาพที่ 3) เทคนิค LCMS พบว่ามีเพียงพันธุ์ใหญ่บุรีรัมย์เท่านั้น
ที่วิเคราะห์หาปริมาณเมลาโทนินได้ เท่ากับ 9.77 ±
2. ก�รวิเคร�ะห์ปริม�ณส�รประกอบฟีนอลิกรวม 0.32 µg/g extract พันธุ์คุณไพและศรีสะเกษ พบ
ฟล�โวนอยด์รวม และเมล�โทนิน ปริมาณเมลาโทนินน้อยกว่า 1.95 ng/ml และไม่
จากการวิเคราะห์หาสารประกอบฟีนอลิกรวม สามารถตรวจพบปริมาณเมลาโทนินได้ในพันธุ์บุรีรัมย์
ภาพที่ 3 ผลการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันด้วยวิธี ABTS radical scavenging
( BRM, บุรีรัมย์60; YAI, ใหญ่บุรีรัมย์; SNK, สกลนคร; KHU, คุณไพ; SSK, ศรีสะเกษ)
ตารางที่ 1 ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม ฟลาโวนอยด์รวม และเมลาโทนินในใบหม่อน 5 พันธุ์
สารประกอบฟีนอลิกรวม ฟลาโวนอยด์รวม เมลาโทนิน
พันธุ์
(mgGAE/g extract) * (mgQE/g extract) * (µg/g extract) *
บุรีรัมย์ 60 274.02 ± 6.44 37.19 ± 0.53 ND
ใหญ่บุรีรัมย์ 390.89 ± 3.90 10.15 ± 0.21 9.77 ± 0.32
สกลนคร 328.85 ± 3.32 12.04 ± 0.15 ND
คุณไพ 290.94 ± 4.56 17.59 ± 0.23 ND
ศรีสะเกษ 229.78 ± 1.96 15.45 ± 0.54 ND
หมายเหตุ: ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ± ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ย
*
ND = Not detected; GAE= Gallic acid; QE = Quercetin