Page 183 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 183
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 533
ประสาทรับความรู้สึก การฝังเข็มสามารถลดการหลั่ง กลุ่ม opioid หลายชนิดจากภายในร่างกาย (en-
ของสารอักเสบในร่างกายที่ส่วนปลายประสาท การฝัง dogenous opioids) ซึ่งจะไปจับกับตัวรับ opioid
เข็มสามารถกระตุ้นให้สารสื่อประสาทกลุ่มต่าง ๆ รวม receptors ชนิด mu (µ) / kappa (κ) / delta (δ) [28]
ถึง opioid, serotonin, norepineprhine ที่มีผลระงับ ตัวรับแต่ละชนิดให้ผลในการระงับปวดในระดับที่แตก
ปวดให้หลั่งออกมาจากภายในร่างกายของผู้ป่วย จาก ต่างกัน โดยกระจายอยู่ทั่วร่างกายแล้วแต่สปีชีส์โดย
ทั้งระบบประสาทส่วนกลาง และส่วนปลาย การฝังเข็ม opioids ที่จับกับ µ-opioid receptor ได้ดีจะให้ผล
มีผลลดการทำางานของสมองส่วนที่รับรู้ความรู้สึกเจ็บ ในการระงับปวดได้มากกว่าในหลายสปีชีส์ จากผล
ปวด การวิจัยพบว่า การฝังเข็มสามารถกระตุ้นให้ร่างกาย
1. การฝังเข็มสามารถเพิ่มระดับความ หลั่ง opioids ได้จากทั้งส่วนระบบประสาทส่วนกลาง
ต้านทานต่อความรู้สึกเจ็บปวด (pain threshold) ที่ และส่วนปลาย [29-30] ชนิดของ opioid ที่หลั่งออกมา
ส่วนปลายประสาทรับความรู้สึก [18-22] กล่าวคือ ต้องใช้ ขึ้นกับคลื่นความถี่ไฟฟ้าที่ใช้ในการกระตุ้นการฝัง
[31]
สิ่งกระตุ้นในระดับที่เพิ่มขึ้นถึงจะเกิดความรู้สึกเจ็บ เข็ม โดยคลื่นความถี่ไฟฟ้าที่ 2 Hz กระตุ้นการหลั่ง
ปวดขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (sham control) b-endorphin และ enkephalin (µ- and δ-opioid
การฝังเข็มจะให้ผลการระงับปวดต่อเมื่อมีการกระตุ้น agonists) ซึ่งออกฤทธิ์จับกับ µ- และ δ-opioid
เป็นระยะ (intermittent stimulation) ไม่ว่าด้วยการ receptors, endomorphin (µ-opioid agonist)
หมุนเข็ม (manual acupuncture; MA) หรือกระตุ้น ซึ่งออกฤทธิ์จับกับ µ-opioid receptor ส่วนคลื่น
[23]
ด้วยไฟฟ้า(electroacupuncture; EA) โดยพบว่า ความถี่ไฟฟ้าที่ 100 Hz กระตุ้นการหลั่ง dynorphin
สามารถเพิ่มระดับความต้านทานต่อความรู้สึกเจ็บ (κ-opioid agonist) ซึ่งออกฤทธิ์จับกับ κ-opioid
ปวดได้นานมากกว่า 30 นาทีภายหลังการฝังเข็ม receptor [32-33] การฝังเข็มสามารถกระตุ้นการหลั่ง
2. การฝังเข็มมีผลลดการอักเสบ โดยลด opioid ที่ระดับสมอง และเพิ่มความสามารถในการ
[16]
[34]
การหลั่งของสารสื่ออักเสบ (proinflammatory จับของตัวรับ µ-opioid receptor ซึ่งพบว่าอาจมีผล
[35]
cytokine) ซึ่งเป็นสาเหตุของการอักเสบ, ความรู้สึก ต่อประสิทธิภาพในการระงับปวด โดยจากการศึกษา
เจ็บปวดที่เกิดจากการอักเสบของเนื้อเยื่อ (inflam- พบว่า b-endorphin ให้ผลระงับปวดในระดับสมอง
matory pain) และความรู้สึกเจ็บปวดที่เกิดจากการ ภายหลังการฝังเข็ม [36]
เสียหายของเส้นประสาท (neuropathic pain) ทั้ง 4. การฝังเข็มมีผลกระตุ้นระบบยับยั้งกระแส
ในระดับปลายประสาท และระดับไขสันหลัง โดยการ ประสาทความรู้สึกเจ็บปวดที่ส่งลงมาจากสมอง
ฝังเข็มมีผลลดการหลั่งสารสื่ออักเสบหลายชนิดเช่น (descending pain inhibitory system) โดยลด
[24]
substance P , cyclooxygenase-2 (COX-2), การหลั่งของสารสื่อประสาทที่กระตุ้นการส่งกระแส
[25]
prostaglandin E2 (PGE2) , interleukin-1b ประสาทความรู้สึกเจ็บปวด (glutamate excitatory
[37]
(IL-1b), tumor necrosis factor-α (TNF- α) , neurotransmitter) จากตัวรับกลุ่ม N-methyl-D-
[26]
interleukin-8 (IL-8), interleukin-10 (IL-10) [27] aspartic acid(NMDA) [38-40] และเพิ่มการหลั่งของ
3. การฝังเข็มกระตุ้นการหลั่งสารระงับปวด สารสื่อประสาทที่ยับยั้งการส่งกระแสประสาทความ