Page 181 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 181

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  531















































                                      แหล่งที่มา: ภาพวาดโดย นันท์นภัส จิวลวัฒน์
                             ภาพที่ 1 กลไกการระงับความรู้สึกเจ็บปวดของการแพทย์แผนปัจจุบัน


            หรือ longer lasting pain จะให้สัญญาณ “second/  เข้าหลอดเลือดดำา ฉีดเข้าเยื่อหุ้มช่องอก หรือ ฉีดเข้า

            slow pain’’ ความปวดจะกระจาย ไม่สามารถบอก    เยื่อหุ้มช่องท้อง ใช้การฉีดยาต้านการอักเสบ Non-
            ตำาแหน่งที่ชัดเจน และจะเกิดต่อเนื่องแม้จะไม่มีสิ่ง  Steroidal Anti Inflammatory Drugs (NSAIDs)

            กระตุ้นแล้วก็ตาม โดยเมื่อสิ่งกระตุ้นอยู่ในระดับ  เข้าระบบ หรือฉีดยากลุ่ม opioids เข้าข้อ ซึ่งจะลด
            ที่เกินระดับความต้านทานต่อความรู้สึกเจ็บปวด   การหลั่งของสารสื่อประสาทที่ทำาให้เกิดความเจ็บปวด
            (pain threshold) ของตัวรับความรู้สึก ทำาให้เกิดการ     3.2 Transmission เป็นการรวบรวมนำา

            เปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ทางไฟฟ้า (action poten-  กระแสประสาทผ่านเส้นใยประสาทรับความรู้สึกเข้าสู่
            tials) ขึ้น และก่อให้เกิดกระแสประสาทส่งผ่านไปตาม  ไขสันหลังทาง dorsal horn ซึ่งสามารถยับยั้งได้โดย

            เส้นใยประสาท สามารถยับยั้งขั้นตอนนี้ได้โดยลดการ  การใช้ยาชาเฉพาะที่เข้าไประงับที่เส้นประสาทส่วน
            ผลิตสารสื่ออักเสบ สารสื่อประสาท ซึ่งสามารถใช้ยาชา  ปลาย หรือ เครือข่ายเส้นประสาท หรือ โดยการฉีดยา
            เฉพาะที่ให้เข้าไปตรงบริเวณที่เกิดบาดเจ็บ หรือ ฉีด  เข้าช่องเหนือเยื่อดูราของไขสันหลัง เส้นใยประสาท
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186