Page 184 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 184
534 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
รู้สึกเจ็บปวด (GABA inhibitory neurotransmit- ส่วนที่รับความรู้สึกเจ็บปวด anterior cingulate
ter) [41] cortex [17,50-51] การกระตุ้นสมองด้วยไฟฟ้า โดยเฉพาะ
5. การฝังเข็มมีผลระงับปวดโดยกระตุ้นระบบ ที่ตำาแหน่ง mesencephalic periaqueductal gray
serotonergic และ α2-adrenergic กระตุ้นการ matter และ medullary raphe nuclei สามารถระงับ
[42]
หลั่ง serotonin และ norepinephrine [43-44] ซึ่งพบ ความเจ็บปวดได้ โดยการกระตุ้นที่ระดับสมองนี้จะไป
ว่ามีผลต่อระบบยับยั้งกระแสประสาทความรู้สึกเจ็บ ส่งผลต่อไปที่ระดับไขสันหลังเกิดการปรับแต่งคลื่น
ปวดที่ส่งลงมาจากสมอง (descending pain inhibi- กระแสความรู้สึกเจ็บปวด modulation โดยมีสาร
tory system) ภายหลังการฝังเข็ม [45-49] สื่อประสาทที่เกี่ยวข้อง endogenous opiates and
[52]
6. การฝังเข็มมีผลลดการทำางานของสมอง monoaminergic neurotransmitter หรือฉีด
แหล่งที่มา: ภาพวาดโดย นันท์นภัส จิวลวัฒน์
ภาพที่ 2 กลไกการระงับความรู้สึกเจ็บปวดของการฝังเข็ม (acupuncture analgesia)