Page 186 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 186
536 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
และสามารถใช้ยาต้าน เช่น naloxone แอนติบอดีต่อ เดียวกับแพทย์แผนปัจจุบัน การติดตามผลการรักษา
[80]
ต้านของสารนั้น ๆ หรือ ยาชาเพื่อลบล้างฤทธิ์การระงับ เป็นสิ่งสำาคัญ การฝังเข็มจะปลอดภัย ถ้ามีเทคนิค
ปวดของการฝังเข็มได้ การฝังเข็มยังส่งผลแทรกแซง การปลอดเชื้อที่ดี ควรเพิ่มความระมัดระวัง ในการฝัง
การปรับแต่งสัญญาณของกลไกการรับความรู้สึกเจ็บ เข็มใกล้กับบริเวณช่องอก เพราะพบภาวะทะลุเข้าช่อง
ปวด โดยมีกลไกกระตุ้นระบบยับยั้งกระแสประสาท อก (pneumothorax) หรือการติดเชื้อแทรกซ้อนได้ [5]
ความรู้สึกเจ็บปวดที่ส่งลงมาจากสมอง ด้วยกลไกลด อุปสรรคโดยรวมของการฝังเข็ม คือ การกำาหนด
การหลั่งของสารสื่อประสาทที่กระตุ้นการส่งกระแส ตำาแหน่ง วิธีที่แน่นอน และการแปลผลการรักษา หลัก
ประสาทความรู้สึกเจ็บปวด (glutamate excitatory การฝังเข็มต้องฝังเข็มตามตำาแหน่งฝังเข็มบนเส้น
neurotransmitter) และกลไกเพิ่มการหลั่งของสาร ลมปราณตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนถึงจะให้ผล
สื่อประสาทที่ยับยั้งการส่งกระแสประสาทความรู้สึก ระงับปวด [18,34] แต่ยังมีข้อโต้เถียง เนื่องจากบางการ
เจ็บปวด (GABA inhibitory neurotransmitter) ศึกษาพบว่า แม้ว่าจะฝังเข็มบนจุดที่ไม่อยู่บนเส้น
อีกทั้งการฝังเข็มยังมีผลลดการทำางานของสมองส่วน ลมปราณก็ให้ผลการระงับปวด [20,81] บางรายงานพบ
[82]
ที่รับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผลของ ว่าความรู้สึกกดหน่วง (de-qi ) ที่ตำาแน่งการฝังเข็ม
การระงับปวดจากการฝังเข็มอาจแตกต่างกันในแต่ละ ที่ถูกจุด (ashi point) ให้ผลระงับปวดได้ดีกว่าการ
บุคคล กลุ่มคนที่ไม่ตอบสนองต่อการฝังเข็มเนื่องจาก ฝังเข็มที่ตำาแหน่งอื่น [83-84] แต่ความรู้สึกกดหน่วงดัง
มีโปรตีน cholecystokinin (CCK) ที่มีฤทธิ์ต่อต้าน กล่าว และระดับความปวดที่ลดลงนั้น แตกต่างกันใน
สารกลุ่ม opioid ทำาให้ไม่ให้ผลระงับปวด [65-67] ผลของ แต่ละบุคคล ยากต่อการแปลผล การรวบรวมข้อมูล
การระงับปวดยังขึ้นอยู่กับชนิดของความรู้สึกเจ็บปวด การสรุปผลเป็นตำาแหน่งเฉพาะเจาะจง ทำาให้ยากต่อ
[9]
ชนิดของการฝังเข็ม ระดับคลื่นความถี่ของการกระ- การสรุปเป็นวิธีการฝังเข็มที่เฉพาะเจาะจงต่อโรค
ตุ้น [31,68-69] ตำาแหน่งของการฝังเข็ม และประสบการณ์ นั้น ๆ [85-86] นอกจากนี้ เริ่มมีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
ของผู้ฝังเข็ม การฝังเข็มสามารถให้ผลระงับปวดใน เพิ่มมากขึ้นเพื่อพิสูจน์ผลของการฝังเข็มต่อการรักษา
ระดับสมอง ให้ผลระงับปวดเฉพาะที่ [30,71] หรือทั้ง โรคอื่น ๆ ต่อไป
[70]
[72]
ตำาแหน่งเฉพาะที่และห่างไกลออกไป ทั้งนี้ขึ้นกับ
ตำาแหน่งการฝังเข็ม ผลของการระงับปวดสามารถอยู่ บทสรุป
ได้นาน 0.5-3 ชั่วโมง [30,73] การฝังเข็มสามารถออกฤทธิ์ การฝังเข็มเพื่อระงับปวด เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง
แบบสะสม กรณีฝังเข็มอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 2-4 ที่คนไข้สามารถเลือกใช้ได้อย่างได้ผล และมีหลัก
สัปดาห์ [64,74] เนื่องจากการฝังเข็มสามารถให้ผลเสริม ฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนอย่างแน่ชัดว่าการฝัง
ฤทธิ์เมื่อใช้ร่วมกับยาระงับปวดกลุ่ม opioid และยา เข็มสามารถระงับปวดได้จริง โดยออกฤทธิ์ระงับปวด
ชา จึงมีการนำาการฝังเข็มมาใช้มากขึ้นในทางการแพทย์ ได้ในทุกขั้นตอนของกลไกการรับความรู้สึกเจ็บปวด
[75]
เพื่อระงับปวดแบบเฉียบพลัน ระงับปวดภายหลัง ทั้งในระบบประสาทส่วนปลาย และส่วนกลาง ซึ่งผล
การผ่าตัด [73,76] ระงับปวดโรคเรื้อรัง [77-79] ทั้งนี้ การฝัง จากการฝังเข็มส่วนใหญ่เป็นการกระตุ้นการหลั่งสาร
เข็มเป็นศาสตร์การรักษาอาการเจ็บปวดแขนงหนึ่ง เช่น สื่อประสาทกลุ่ม opioid ที่มีฤทธิ์ระงับความรู้สึกเจ็บ