Page 187 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 187
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 537
ปวดทั้งในระบบประสาทส่วนปลาย และส่วนกลาง References
ออกมาจากภายในร่างกายของผู้ป่วยเอง อีกทั้งการฝัง 1. Pergolizzi J, Ahlbeck K, Aldington D, Alon E, Coluzzi
F, Dahan A, Huygen F, Kocot-Kępska M, Mangas A,
เข็มยังกระตุ้นการหลั่งสารสื่อประสาทกลุ่ม serotonin
Mavrocordatos P, Morlion B, Müller-Schwefe G, Nico-
และ norepinephrine ซึ่งมีฤทธิ์กระตุ้นระบบยับยั้ง laou A, Pérez Hernández C, Sichère P, Schäfer M, Var-
ความรู้สึกเจ็บปวดที่ส่งสัญญาณกลับมาจากสมอง rassi G. The development of chronic pain: physiological
CHANGE necessitates a multidisciplinary approach to
การฝังเข็มยังลดการหลั่งสารสื่ออักเสบชนิดต่าง ๆ ที่ treatment. Curr Med Res Opin. 2013;29(9):1127-35.
ทำาให้เกิดความเจ็บปวดที่บริเวณระบบประสาทส่วน 2. Bergh I, Steen G, Waern M, Johansson B, Odén A,
Sjöström B, Steen B. Pain and its relation to cogni-
ปลาย การฝังเข็มยังช่วยเพิ่มระดับความต้านทาน tive function and depressive symptoms: a Swedish
ต่อความรู้สึกเจ็บปวดที่ระบบประสาทส่วนปลายรับ population study of 70-year-old men and women. J Pain
Symptom Manage. 2003;26(4):903-12.
ความรู้สึกได้ ซึ่งการสรุปเป็นกลไกการระงับความ 3. Wells N, Pasero C, McCaffery M. Improving the Quality
รู้สึกเจ็บปวดจากการฝังเข็มในการทบทวนวรรณกรรม of Care Through Pain Assessment and Management.
In: Hughes RG, editor. Patient safety and quality: An
นี้ ได้ข้อสรุปมาจากการรวบรวมหลักฐานงานวิจัยทาง evidence-based handbook for nurses. Rockville (MD):
วิทยาศาสตร์ที่น่าเชื่อถือและมีจำานวนมากพอ อย่างไร Agency for Healthcare Research and Quality; 2008.
ก็ดี การเลือกใช้วิธีการระงับปวดด้วยการแพทย์แผน- 4. Glowacki D. Effective pain management and improve-
ments in patients’ outcomes and satisfaction. Crit Care
ปัจจุบัน และ/หรือการฝังเข็ม ควรมีการปรับการรักษา Nurse. 2015;35(3):33-41.
ให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล และติดตามประเมินผล 5. National Institutes of Health. National Institutes of
Health Consensus Conference. Acupuncture. JAMA.
ภายหลังการรักษาอย่างใกล้ชิด เพราะอาจให้ผลการ 1998;280(17):1518-24.
รักษาที่แตกต่างกันได้ เนื่องจากความเจ็บปวดเป็น 6. Barnes PM, Bloom B, Nahin RL. Complementary and
alternative medicine use among adults and children:
ประสบการณ์เฉพาะบุคคล United States, 2007. Natl Health Stat Report. 2008(12):1-
23.
กิตติกรรมประก�ศ 7. World Health Organization. Acupuncture: review and
analysis of reports on controlled clinical trials. Geneva:
ขอขอบคุณ Associate Professor World Health Organization; 2002. 81 p.
8. Zhang R, Lao L, Ren K, Berman BM. Mechanisms of
Dr.Masatoshi Suzuki, University of Wisconsin-
acupuncture-electroacupuncture on persistent pain.
Madison, USA ที่ให้คำาแนะนำาด้านวิชาการ อธิการบดี Anesthesiology. 2014;120(2):482-503.
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม คณบดี ผู้อำานวยการ 9. Ulett GA, Han S, Han JS. Electroacupuncture: mech-
anisms and clinical application. Biol Psychiatry.
คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ เจ้าหน้าที่คณะเกษตรและ 1998;44(2):129-38.
ชีวภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โรงพยาบาล 10. Merskey HaB, N. Classification of chronic pain: a Current
list with definitions and notes on usage. 2nd ed. Seattle:
สัตว์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาลัยการ International Association for the Study of Pain Press;
แพทย์ทางเลือก แพทย์แผนจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏ 1994.
11. Muir WW, 3rd, Woolf CJ. Mechanisms of pain and
จันทรเกษม และทุกท่านที่มีส่วนในการทบทวน their therapeutic implications. J Am Vet Med Assoc.
วรรณกรรมครั้งนี้ 2001;219(10):1346-56.