Page 180 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 180
530 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
และ nociception ซึ่งงานศึกษาวิจัยตีพิมพ์ที่ค้นคว้า ระบบประสาท จะทำาให้เกิดภาวะความไวต่อความเจ็บ
ได้มีจำานวนมากกว่า 1,000 ฉบับ การศึกษาครั้งนี้ได้ ปวดของระบบประสาททั้งส่วนปลายและส่วนกลางขึ้น
คัดกรองเฉพาะที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกลไกการระงับ (peripheral and central sensitization) ส่งผลให้
ความรู้สึกเจ็บปวดของการฝังเข็ม โดยเป็นงานวิจัย เกิดความเสียหายของเนื้อเยื่อเพิ่มมากขึ้น อาการ
ที่สำาคัญและแสดงหลักฐานได้น่าเชื่อถือ ได้เป็นการ รุนแรงมากขึ้นในระยะยาว และผู้ป่วยจะได้รับความ
ทบทวนวรรณกรรมจากงานศึกษาวิจัยตีพิมพ์จำานวน ทรมานจากอาการปวดที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
มากกว่า 50 ฉบับ 3. กลไกการรับความรู้สึกเจ็บปวดของการ
แพทย์แผนปัจจุบันเป็นกระบวนการส่งสัญญาน
เนื้อห�ที่ทบทวน กระแสประสาทที่ถูกกระตุ้นด้วยสิ่งกระตุ้นที่ทำาให้เกิด
ความเจ็บปวด โดยตัวรับความเจ็บปวด และส่งกระแส
กลไกก�รระงับคว�มรู้สึกเจ็บปวดของก�รแพทย์ ประสาทความรู้สึกเจ็บปวดนี้ไปแปลผลให้เกิดการรับ
แผนปัจจุบัน รู้ถึงความรู้สึกเจ็บปวดที่สมองขึ้น (pain perception)
1. ความเจ็บปวด (pain) เป็นการรับความรู้สึก ซึ่งกลไกการรับความรู้สึกเจ็บปวดนี้ ประกอบด้วย 4
ไม่พึงประสงค์ที่เกี่ยวข้องกับการเสียหายของเนื้อเยื่อ [10] ขั้นตอน คือ transduction, transmission, modula-
[12]
จัดเป็นอาการที่บ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิ tion และ perception (ภาพที่ 1)
สภาพ หรือโรค ความเจ็บปวดเกิดได้จากหลายสาเหตุ 3.1 Transduction เป็นกระบวนการที่สิ่ง
เช่น กระบวนการอักเสบ ภาวะกระดูกและข้ออักเสบ กระตุ้นที่ทำาให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวด (ความร้อน, แรง
(osteoarthritis) การเสียหายของระบบประสาท การ กด, สารเคมี, ไฟฟ้า เป็นต้น) ไปกระตุ้นที่ตัวรับความ
ผ่าตัด การกระทบกระเทือน (trauma) การขาดเลือด เจ็บปวด (nociceptor) โดยจะนำากระแสประสาท
(ischemia) และโรคมะเร็ง ความรู้สึกเจ็บปวดผ่านไปทางเส้นใยประสาทนำาความ
[11]
2. วิธีการระงับความเจ็บปวดของการแพทย์ รู้สึกชนิด Aδ และ C โดยเส้นใยประสาทชนิด Aδ ที่
แผนปัจจุบัน จะเริ่มจากการใช้ยาระงับปวดที่ออกฤทธิ์ มี myelin หุ้มจะนำากระแสประสาทได้รวดเร็ว และ
ยับยั้งหรือแทรกแซงกลไกการรับความรู้สึกเจ็บปวด รับสิ่งกระตุ้นที่มีลักษณะ sharp mechanical จะให้
(nociception) (ภาพที่ 1) ที่ระดับเดียวหรือหลาย สัญญาณประสาท “first/fast pain’’ เช่น เจ็บแสบ
ระดับของกลไกการรับความรู้สึกเจ็บปวด จากระบบ ถูกทิ่มแทง ถูกกัด ระคายเคือง และคัน ความปวดที่
ประสาทส่วนกลาง และส่วนปลาย ซึ่งกลไกการออก เกิดขึ้นสามารถบอกตำาแหน่งที่เกิดได้แน่นอน เกิดขึ้น
ฤทธิ์หลักคือ ลดการหลั่งสารสื่อประสาทที่ทำาให้เกิด เพียงช่วงสั้น ๆ เท่าที่สิ่งกระตุ้นอย่างเฉียบพลันมีผล
ความเจ็บปวด ทั้งนี้ หากคนไข้ไม่ได้รับการกำาจัด ต่อตัวรับความรู้สึก ส่วนการนำากระแสประสาทความ
สาเหตุของความเจ็บปวด หรือไม่ได้รับการระงับความ รู้สึกเจ็บปวดผ่านเส้นใยประสาทนำาความรู้สึกชนิด
รู้สึกเจ็บปวดที่เหมาะสม สิ่งกระตุ้นที่ทำาให้เกิดความ C ที่ไม่มี myelin จะนำากระแสประสาทในอัตราที่ช้า
เจ็บปวดจะยังคงกระตุ้นระบบประสาทต่อเนื่องเป็น กว่า ซึ่งเป็นเส้นใยประสาทนำาความรู้สึกส่วนใหญ่ถึง
ระยะเวลานาน เช่น ยังมีความเสียหายของเนื้อเยื่อและ ร้อยละ 90 รับสิ่งกระตุ้นที่มีลักษณะ dull burning