Page 182 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 182

532 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           นำาความรู้สึกจะนำากระแสประสาทไปสู่ไขสันหลัง   ความรู้สึกเจ็บปวด (nociception) ซึ่งประกอบด้วย
           (spinal cord) ผ่านทาง dorsal root ของเส้นประสาท  4 ขั้นตอน คือ 1. transduction เกิดเมื่อมีสิ่งกระตุ้น

           ไขสันหลัง (spinal nerve) จากนั้นจะแยกไปสู่เซลล์  ที่ทำาให้เกิดความเจ็บปวดกระตุ้นที่ตัวรับ เกิดการ
           ประสาทลำาดับที่สอง ที่ทำาหน้าที่ยับยั้งและกระตุ้น   ส่งกระแสประสาทความรู้สึกเจ็บปวดนี้ผ่านไปทาง
           (second-order inhibitory and excitatory inter-  เส้นใยประสาทชนิด Aδ และ C 2. transmission

           neurons) จากนั้นกระแสประสาทความรู้สึกเจ็บปวด  เป็นการรวบรวมกระแสประสาทเข้าสู่ dorsal horn
           จะส่งออกจากไขสันหลังผ่านไปทาง spinothalamic   ของไขสันหลัง 3. modulation เป็นการปรับแต่งเพิ่ม
           tract ไปที่สมอง จึงเกิดการรับรู้ถึงความเจ็บปวดที่  หรือลดความแรงของสัญญาณกระแสประสาทที่ส่วน

           สมองขึ้น                                    dorsal horn ของไขสันหลัง 4. perception เป็นการ
                3.3 Modulation เป็นการปรับแต่งสัญญาณ   รับรู้ถึงความรู้สึกเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในสมอง
           กระแสประสาทที่ส่วน dorsal horn ของไขสันหลัง

           ซึ่งอาจจะมีได้ทั้งเพิ่มหรือลดความแรงของกระแส  กลไกก�รระงับคว�มรู้สึกเจ็บปวดของก�รฝังเข็ม
           ประสาท กระบวนการนี้มีความซับซ้อนและมีผลที่  (acupuncture analgesia)

           ต้องการควบคุมความเจ็บปวด เนื่องจากความเจ็บ      จากผลการทดลองทางห้องปฏิบัติการในสัตว์
           ปวดสามารถพัฒนาความรุนแรง หรือขยายระยะ       ทดลอง และผลการทดลองทางคลินิกในผู้ป่วย เมื่อให้
           เวลาของความเจ็บปวด ซึ่งสามารถยับยั้งขั้นตอนนี้ได้  สิ่งกระตุ้นที่ทำาให้เกิดความเจ็บปวดหรือทดสอบกับผู้

           โดยการฉีดยาชา ยากลุ่ม opioids และ/หรือ ยากลุ่ม   ป่วยที่มีความปวดชนิดต่าง ๆ แล้วทำาการเปรียบเทียบ
           α2-adrenergic agonists เข้าทางระบบ หรือเข้าช่อง  ค่าต่าง ๆ จากอาการหลีกหนีจากสิ่งกระตุ้น วัดปริมาณ

           เหนือเยื่อดูราของไขสันหลัง                  สารสื่อประสาทชนิดต่าง ๆ ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์
                3.4 Perception การที่สมองรับสัญญาณ     เช่น การย้อมติดสี immunohistochemistry,
                                                                                [14]
           ประสาทที่ส่งผ่านมาจากไขสันหลังแล้วเกิดการรับรู้  real-time PCR, western blot , radioimmuno
           ถึงความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นใน thalamus และแปล  assay, รวมถึงการใช้ electromyogram, microneu-
                                                               [15]
           ความรู้สึกดังกล่าวในสมองส่วน cortex ตรงบริเวณ   rography , ภาพถ่ายทางรังสี positron emission
                                 [13]
           anterior cingulate cortex  ต่อมากระแสประสาท  tomography (PET)  และใช้ภาพถ่ายแสดงถึงคลื่น
                                                                       [16]
           จะส่งผ่านไปยัง motor cortex เพื่อให้ร่างกายตอบ  สมอง functional magnetic resonance imaging
                                                            [17]
           สนองต่อความเจ็บปวดที่เกิดขึ้น ซึ่งสามารถยับยั้งขั้น  (fMRI) แสดงให้เห็นถึงผลการระงับปวดของการ
           ตอนนี้โดยการวางยาสลบทั่วร่างกาย หรือโดยการให้  ฝังเข็มซึ่งได้ข้อมูลที่แตกต่างจากกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้

           ยากลุ่ม opioids และ α2-adrenergic agonists  รับการฝังเข็ม หรือฝังเข็มที่ไม่ใช่จุดฝังเข็ม อย่างมี
                การแพทย์แผนปัจจุบันจะใช้ยาระงับปวด เช่น   นัยสำาคัญทางสถิติ จากการทดลองเหล่านี้สรุปได้เป็น

           ยากลุ่ม opioid, ยากลุ่ม α2-adrenergic agonist,   กลไกการระงับความรู้สึกเจ็บปวดของการฝังเข็ม (ภาพ
           ยาชา, และ/หรือ ยาสลบ เพื่อไปออกฤทธิ์ยับยั้งการ  ที่ 2) ว่าการฝังเข็มสามารถเพิ่มระดับความต้านทานต่อ
           ส่งกระแสประสาทในแต่ละขั้นตอนของกลไกการรับ   ความรู้สึกเจ็บปวด (pain threshold) ที่ส่วนปลาย
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187