Page 179 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 179
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 529
ขึ้นทั่วโลก ในปี ค.ศ. 1998 National Center for เกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ทางไฟฟ้า กระแส
Complementary and Integrative Health ประกาศ ประสาทดังกล่าวจะถูกส่งไปรวบรวมเข้าสู่ไขสันหลัง
ว่า ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการฝังเข็มสามารถลด และเกิดการปรับแต่งสัญญาณ ซึ่งอาจจะมีได้ทั้งเพิ่ม
อาการคลื่นไส้และอาเจียนภายหลังการผ่าตัดหรือ หรือลดความแรงของกระแสประสาท จากนั้นสัญญาณ
ภายหลังการทำาเคมีบำาบัดได้ สามารถระงับอาการ จะถูกส่งไปยังสมองส่วน thalamus เกิดการรับรู้ถึง
[5]
ปวด และอาจควบคุมภาวะความดันโลหิตได้ มีผู้ ความเจ็บปวด และสมองส่วน cortex ทำาการแปล
ป่วยเข้ารับบริการรักษาด้วยการฝังเข็มเพิ่มมากขึ้น ความรู้สึกเจ็บปวดดังกล่าว แล้วส่งกระแสประสาท
[6]
ทุกปี อีกทั้งในปี ค.ศ. 2002 องค์การอนามัยโลก ผ่านลงไปสู่ไขสันหลัง เพื่อให้ร่างกายตอบสนองต่อ
[World Health Organization (WHO)] ประกาศ ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม จากนั้นผู้แต่ง
โดยพิจารณาจากผลการวิจัยทางคลินิกที่มีกลุ่ม ได้กล่าวอธิบายโดยสรุปถึงกลไกการระงับความรู้สึก
ควบคุม (controlled clinical trials) ว่า การฝังเข็ม เจ็บปวดของการแพทย์แผนปัจจุบัน และรวบรวมผล
สามารถให้ประสิทธิผลในการรักษา 29 อาการ โดย งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่น่าเชื่อถือมาสรุปเป็นกลไก
ส่วนใหญ่เป็นผลการรักษาเพื่อระงับความเจ็บปวด การระงับความรู้สึกเจ็บปวดของการฝังเข็มให้เข้าใจได้
ในบริเวณต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ปวดเข่า ปวดหลัง ง่าย ดังที่จะได้กล่าวรายละเอียดต่อไปในการทบทวน
ส่วนล่าง ปวดคอ ปวดกราม ปวดบริเวณหน้า ปวด วรรณกรรมครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาข้อสรุป
หัว ปวดฟัน ปวดจากการทำาฟัน ปวดหลังผ่าตัด [7] ว่าการฝังเข็มสามารถระงับความรู้สึกเจ็บปวดได้จริง
ปัจจุบัน มีงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ตีพิมพ์จำานวน หรือไม่ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ และหากการฝัง
มากอธิบายถึงกลไกการระงับความรู้สึกเจ็บปวดภาย เข็มสามารถระงับความรู้สึกเจ็บปวดได้จริง จะสามารถ
หลังการฝังเข็มว่า การฝังเข็มด้วยการใช้เข็มปลายทู่ อธิบายเป็นกลไกการระงับความรู้สึกเจ็บปวดจากการ
ขนาดเล็กทิ่มลงไปใต้ผิวหนัง ตรงตำาแหน่งที่เชื่อว่า ฝังเข็มได้อย่างไรในทางวิทยาศาสตร์
เป็นที่รวมของแหล่งพลังงานลมปราณซึ่งไหลเวียน
อยู่ทั่วร่างกายของสิ่งมีชีวิต เป็นการสร้างความสมดุล วิธีก�รสืบค้นข้อมูล
ความเย็น/ความร้อน (ยิน/หยาง) และขับเคลื่อนให้ ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากเอกสารงาน
ร่างกายทำางานได้ตามปกติตามหลักการแพทย์แผนจีน วิจัยทางวิทยาศาสตร์จากผลการทดลองทั้งในสัตว์
สามารถระงับปวดได้อย่างไรตามหลักวิทยาศาสตร์ [8-9] ทดลอง และในผู้ป่วย ที่เกี่ยวข้องกับกลไกการระงับ
ในการทบทวนวรรณกรรมนี้ ได้ทบทวนความรู้พื้น ปวด ผลการระงับปวด ภายหลังการฝังเข็ม โดยเป็น
ฐานเกี่ยวกับกลไกการรับความรู้สึกเจ็บปวดกล่าว งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่มีกลุ่มควบคุม และกลุ่ม
คือ เป็นกระบวนการส่งสัญญานกระแสประสาทที่ถูก ทดลอง จากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือต่าง ๆ ทางสื่อสาร
กระตุ้นด้วยสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ ที่ทำาให้เกิดความเจ็บปวด สนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลการสืบค้นข้อมูลจาก
ผ่านไปทางเส้นใยประสาทนำาความรู้สึกชนิดต่าง ๆ ที่ ฐานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ PubMed
มีคุณสมบัติต่างกัน เมื่อสิ่งกระตุ้นอยู่ในระดับที่มาก โดยผู้แต่งได้กำาหนดคำาค้นหาจากคำาศัพท์สำาคัญที่
เกินระดับความต้านทานต่อความรู้สึกเจ็บปวด ทำาให้ เกี่ยวข้อง ได้แก่ acupuncture, analgesia, pain