Page 185 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 185

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  535




            มอร์ฟีน กดความเจ็บปวดที่สมองซึ่ง naloxone แก้  สารสื่อประสาทกลุ่มต่าง ๆ รวมถึง opioid serotonin
            ได้ [53]                                    norepinephrine ที่มีผลระงับปวดให้หลั่งออกมา

                 การฝังเข็มมีผลกระตุ้นการหลั่ง corticoste-  จากภายในร่างกาย จากทั้งระบบประสาทส่วนกลาง
                [54]
            rone  ซึ่งสามารถช่วยลดความกังวลกระวนกระวาย  และส่วนปลาย การฝังเข็มมีผลกระตุ้นระบบยับยั้ง
                                      [55]
            ในรายที่มีความเครียดเรื้อรังได้  การฝังเข็มยัง  กระแสประสาทความรู้สึกเจ็บปวดที่ส่งลงมาจากสมอง
            มีผลเพิ่มปริมาณ somatostatin, glial-derived   (descending pain inhibitory system) โดยลด
                             [14]
            neurotrophic factor ซึ่งพบว่ามีปริมาณลดลงใน   การหลั่งของสารสื่อประสาทที่กระตุ้นการส่งกระแส
                          [56]
            ผู้ป่วยที่ปวดเรื้อรัง   ถึงแม้ว่ายังมีข้อถกเถียงว่าระบบ   ประสาทความรู้สึกเจ็บปวด (glutamate excitatory
            ประสาทซิมพาเทติกให้ผลอย่างไรในการควบคุม     neurotransmitter) จากตัวรับกลุ่ม N-methyl-D-
            ความเจ็บปวด  แต่จากการศึกษาพบว่า การฝังเข็มมีผล   aspartic acid (NMDA) และเพิ่มการหลั่งของสาร
            กระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก โดยการฝังเข็มก่อน  สื่อประสาทที่ยับยั้งการส่งกระแสประสาทความรู้สึก

            ผ่าตัดสามารถกระตุ้นการหลั่ง adrenaline (epi-  เจ็บปวด (GABA inhibitory neurotransmitter)
            nephrine) [15,57]  ซึ่งมีผลต่อระบบยับยั้งกระแสประสาท

            ความรู้สึกเจ็บปวดที่ส่งลงมาจากสมอง (descending             บทวิจ�รณ์
                                [58]
            pain inhibitory system) และกระตุ้นการหลั่งสาร     จากการทบทวนวรรณกรรมต่าง ๆ จำานวน
                             [59]
            ระงับปวดกลุ่ม opioid ในรายของอาการปวดเรื้อรัง  มาก แสดงให้เห็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ว่า การ
            พบว่ามีความผิดปกติของการดัดแปลงการเชื่อมต่อ  ฝังเข็มสามารถระงับความรู้สึกเจ็บปวดได้ ด้วยการ
            ของการส่งผ่านกระแสประสาท (synaptic plasticity)   เข้าไปแทรกแซงกลไกการรับความรู้สึกเจ็บปวดทั้ง

            แบบกระตุ้นมากเกินไป long term potential ในส่วน  ในระบบประสาทส่วนกลาง และส่วนปลาย โดยที่
                                     [60]
            ของไขสันหลังส่วน dorsal horn  ซึ่งจากการศึกษา  ระดับระบบประสาทส่วนปลาย การฝังเข็มมีกลไกใน
            พบว่า การฝังเข็มสามารถให้ผลดัดแปลงการเชื่อมต่อ  การเพิ่มระดับความต้านทานต่อความรู้สึกเจ็บปวด,

            ของการส่งผ่านกระแสประสาทเป็นแบบยับยั้ง long   การฝังเข็มช่วยลดการหลั่งของสารสื่ออักเสบต่าง ๆ
            term depression [61-62]  ซึ่งมีผลระงับปวดได้  (cyclooxygenase-2 (COX-2), prostaglandin E2
                 การฝังเข็มสามารถระงับปวดได้ทั้งในระบบ  (PGE2), interleukin-1b (IL-1b), tumor necrosis

            ประสาทส่วนกลาง และส่วนปลาย โดยที่ระดับส่วน  factor-α (TNF-α), interleukin-8 (IL-8), interleu-
            ปลายระบบประสาท การฝังเข็มสามารถเพิ่มระดับ   kin-10 (IL-10) และผลที่สำาคัญอย่างยิ่งภายหลังการ
            ความต้านทานของตัวรับความเจ็บปวด (pain thresh-  ฝังเข็ม คือ มีกลไกการกระตุ้นการหลั่งสารสื่อประสาท

            old), การฝังเข็มลดการหลั่งของสารสื่ออักเสบต่าง ๆ   ที่ให้ผลระงับความรู้สึกเจ็บปวด  ได้แก่ opioid, se-
                                                                                [63]
            (cyclooxygenase-2 (COX-2), prostaglandin E2   rotonin, norepinephrine ออกมาจากภายในร่างกาย

            (PGE2), interleukin-1b (IL-1b), tumor necrosis   ของผู้ป่วยเองทั้งจากระบบประสาทส่วนกลางและ
            factor- α (TNF- α), interleukin -8 (IL-8), inter-  ส่วนปลาย (ภาพที่ 2) การวัดปริมาณสารเหล่านี้ด้วย
            leukin-10 (IL-10) [63-64]  การฝังเข็มสามารถกระตุ้นให้  วิธีทางวิทยาศาสตร์ พบมีปริมาณเพิ่มขึ้นหลังฝังเข็ม
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190