Page 107 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 107
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 457
สำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 7) ปวดและอักเสบของข้อเข่า ส่งผลให้มีการเคลื่อนไหว
้
ได้น้อยลง จึงส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงของนำาไขข้อ
อภิปร�ยผล ทำาให้คุณสมบัติการหล่อลื่นในข้อลดลง ดังนั้นจึงมี
การศึกษาประสิทธิผลเบื้องต้นของยาทา ระดับอาการข้อฝืดลดลงกว่าก่อนการทดลอง เป็นผล
พระเส้นในผู้ป่วยโรคลมจับโปงแห้งเข่า พบว่ายาทา มาจากระดับการปวดของข้อเข่าที่ลดลง
พระเส้น ช่วยลดอาการปวดเข่า ลดอาการข้อฝืด ทำาให้ ผู้เข้าร่วมวิจัย หลังจากได้รับยาทาพระเส้น มี
ความสามารถในการใช้งานของข้อเข่าดีขึ้น และเพิ่ม ระดับความสามารถในการใช้งานของข้อเข่าลดลงกว่า
องศาการเคลื่อนไหวของข้อเข่า ซึ่งเป็นผลมาจากส่วน ก่อนได้รับยา พบว่าก่อนการได้รับยามีระดับความ
ประกอบของสมุนไพรในตำารับยาทาพระเส้นมีฤทธิ์ลด สามารถในการใช้งานของข้อเข่าเฉลี่ย 4.64 ในขณะ
การอักเสบ และลดความปวดได้ สอดคล้องกับการ ที่หลังการได้รับยามีระดับความสามารถในการใช้งาน
ศึกษาเรื่องฤทธิ์การต้านอักเสบ ความเป็นพิษ และ ของข้อเข่าเฉลี่ยลดลงเหลือ 2.38 เมื่อนำามาเปรียบ
ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดสมุนไพรของตำารับยาทา เทียบระดับความสามารถในการใช้งานของข้อเข่าก่อน
พระเส้นโอสถพระนารายณ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และหลังได้รับยา พบว่าลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทาง
ครีมนวดทาพระเส้นตำารับโอสถพระนารายณ์ พบว่า สถิติ (p < 0.05) หมายความว่าระดับความสามารถ
[6]
สามารถยับยั้งการสร้าง PGE และ TNF-α ในเซลล์ ในการใช้งานของข้อเข่าดีขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากระดับ
2
เพาะเลี้ยงแมคโครฟาจชนิด RAW 264.7 ได้ดี โดย ความปวดของข้อเข่าลดลงเมื่ออาการปวดลดลงย่อม
ให้ค่า IC เท่ากับ 16.3 และ > 10 ไมโครโมล อีกทั้งใน ส่งผลให้ระดับความสามารถในการใช้งานดีขึ้น และ
50
ตำารับยาทาพระเส้นยังมีพริกไทยเป็นส่วนประกอบ ซึ่ง ลดความรุนแรงของโรคได้
มีฤทธิ์ต้านการอักเสบในหลอดทดลอง โดยพบว่า พริก ผู้เข้าร่วมวิจัย หลังจากได้รับยาทาพระเส้น มี
ไทยมีสารสำาคัญ คือ piperine ซึ่งสารนี้สามารถยับยั้ง องศาการเหยียดข้อเข่าเพิ่มขึ้นกว่าก่อนได้รับยา พบ
การทำางานของ interleukin 6 ยับยั้งเอนไซม์เมทริกซ์ ว่าก่อนการได้รับยามีองศาการเหยียดข้อเข่าเฉลี่ย
เมแทโลโปรทีเนส-13 (MMP–13) และลดการสร้าง 171.28 ในขณะที่หลังการได้รับยามีองศาการเหยียด
prostaglandin-2 ทำาให้เมล็ดพริกไทยมีฤทธิ์ต้านการ ข้อเข่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 172.98 เมื่อนำามาเปรียบเทียบ
อักเสบ และต้านการเสื่อมของข้อ (antiarthritic) ใน องศาการเหยียดข้อเข่าก่อนและหลังได้รับยา พบ
ปริมาณ 10 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร [9] ว่าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05)
ผู้เข้าร่วมวิจัย หลังจากได้รับยาทาพระเส้น มี หมายความว่าองศาการเหยียดข้อเข่าดีขึ้น ซึ่งเป็นผล
ระดับอาการข้อฝืดลดลงกว่าก่อนได้รับยา พบว่าก่อน มาจากระดับความปวดของข้อเข่าลดลง เมื่ออาการ
การได้รับยามีระดับอาการข้อฝืดเฉลี่ย 5.62 ในขณะที่ ปวดลดลง อาการข้อฝืดลดลง ย่อมส่งผลให้การ
หลังการได้รับยามีระดับอาการข้อฝืดเฉลี่ยลดลงเหลือ เหยียดข้อเข่าดีขึ้น
3.38 เมื่อนำามาเปรียบเทียบระดับอาการข้อฝืดก่อน ผู้เข้าร่วมวิจัย หลังจากได้รับยาทาพระเส้น มี
และหลังได้รับยา พบว่าลดลงอย่างมีนัยสำาคัญทาง องศาการงอข้อเข่าลดลงกว่าก่อนได้รับยา พบว่าก่อน
สถิติ (p < 0.05) โดยการฝืดของข้อเข่าเกิดจากการ การได้รับยามีองศาการงอข้อเข่าเฉลี่ย 35.58 ในขณะ