Page 103 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 103

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  453




            ความแตกต่างกันระหว่างสองกลุ่มดังข้อมูลแสดงใน  เมื่อเปรียบเทียบระดับความปวดก่อนและหลังได้รับ
            ตารางที่ 1                                  ยาของกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาหลอก พบว่าลดลง

                 2) การประเมินระดับความเจ็บปวด โดยใช้   ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p
            Visual Analog Scale (VAS)                   > 0.05) (ตารางที่ 2)
                 ในการประเมินความเจ็บปวด โดยใช้ Visual       เมื่อเปรียบเทียบระดับความปวดหลังได้รับยา

            Analog Scale (VAS) พบว่า กลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้  ระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาทาพระเส้นกับกลุ่มที่ได้รับยา
            รับยาทาพระเส้น ระดับความปวดก่อนได้รับยามีค่า  หลอก พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทาง
            เฉลี่ย 6.36 ± 1.32 และระดับความปวดหลังได้รับยา  สถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 3)

            มีค่าเฉลี่ย 2.81 ± 1.23 เมื่อเปรียบเทียบระดับความ     3) การประเมินระดับความเจ็บปวด โดยใช้
            ปวดก่อนและหลังได้รับยาของกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่  Western Ontario and McMaster University
            ได้รับยาทาพระเส้น พบว่าลดลง ซึ่งมีความแตกต่าง  (WOMAC)

            กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05)           การประเมินความเจ็บปวด โดยใช้ Western
                 ส่วนกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาหลอก มีระดับ  Ontario and McMaster University (WOMAC)

            ความปวดก่อนได้รับยาค่าเฉลี่ย 6.00 ± 1.68 และ  ประกอบด้วย 3 หมวด ได้แก่ ระดับความปวด, ระดับ
            ระดับความปวดหลังได้รับยามีค่าเฉลี่ย 5.97 ± 1.77   อาการข้อฝืด และความสามารถในการใช้งานข้อ


            ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมวิจัย

                                      กลุ่มยาทาพระเส้น (25 คน)   กลุ่มยาหลอก (25 คน)     p-value

             เพศ, จำานวนคน (%)
             หญิง                            19 (76%)                14 (56%)            0.652
             ชาย                             6 (24%)                 11 (44%)            0.413
             อายุเฉลี่ย (SD), ปี           59.31 (4.23)             62.43 (6.21)         0.095
             อายุ, ตำ่าสุด-สูงสุด, ปี         45-81                    47-80
             BMI, ค่าเฉลี่ย (SD), กก/ม 2   27.45 (2.81)             27.89 (3.97)         0.876
             BMI, ตำ่าสุด-สูงสุด, กก/ม 2   20.63-32.74              17.85-34.18
            หมายเหตุ SD – ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, BMI–body mass index (ดัชนีมวลกาย)

            ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยระดับความเจ็บปวด (VAS) ก่อนและหลังการได้รับยาของผู้เข้าร่วมวิจัย

                                                 x            S.D.           t           p-value

             ยาทาพระเส้น  ก่อนได้รับยารักษา     6.36         1.32          13.44          0.002
                         หลังได้รับยารักษา      2.81         1.23
             ยาหลอก      ก่อนได้รับยารักษา      6.00         1.68           0.15          0.88
                         หลังได้รับยารักษา      5.97         1.77
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108