Page 104 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 104

454 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           ตารางที่ 3  การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความเจ็บปวด (VAS) หลังได้รับยารักษาระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาหลอกกับ
                    กลุ่มที่ได้รับยาทาพระเส้นของผู้เข้าร่วมวิจัย

                                        N           x            S.D.          t        p-value
            หลังได้รับยาหลอก           25          5.97          1.77         7.31      0.004
            หลังได้รับยาทาพระเส้น      25          2.81          1.23



                  3.1) ระดับความปวด พบว่ากลุ่มผู้เข้าร่วม  ระดับอาการข้อฝืดหลังใช้ยา มีค่าเฉลี่ย 4.6 ± 1.97
           วิจัยที่ได้รับยาทาพระเส้น ระดับความปวดก่อนใช้ยามี  เมื่อเปรียบเทียบระดับอาการข้อฝืดก่อนและหลังได้

           ค่าเฉลี่ย 4.59 ± 2.36 และระดับความปวดหลังใช้ยา มี  รับยาของกลุ่มที่ได้รับยาหลอก พบว่าเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง
           ค่าเฉลี่ย 2.70 ± 1.71 เมื่อเปรียบเทียบระดับความปวด  ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p >
           ก่อนและหลังได้รับยาของกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยา  0.05) (ตารางที่ 4) เมื่อเปรียบเทียบระดับอาการข้อฝืด

           ทาพระเส้น พบว่าลดลง ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมี  หลังได้รับยารักษาระหว่างกลุ่มที่ได้ยาทาพระเส้นกับ
           นัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 4)   กลุ่มที่ได้รับยาหลอก พบว่ามีความแตกต่างกันอย่าง
                  ส่วนกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาหลอก   มีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 5)

           ระดับความปวดก่อนใช้ยามีค่าเฉลี่ย 3.45 ± 1.66 และ       3.3) ระดับความสามารถในการใช้งานของ
           ระดับความปวดหลังใช้ยา มีค่าเฉลี่ย 3.54 ± 1.95 เมื่อ  ข้อ พบว่า กลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาทาพระเส้น
           เปรียบเทียบระดับความปวดก่อนและหลังได้รับยา  ระดับความสามารถในการใช้งานของข้อก่อนใช้ยา มี

           ของกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาหลอก พบว่าเพิ่มขึ้น   ค่าเฉลี่ย 4.64 ± 2.21 และระดับความสามารถในการ
           ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p   ใช้งานของข้อหลังใช้ยา มีค่าเฉลี่ย 2.38 ± 1.84 เมื่อ

           > 0.05) (ตารางที่ 4) เมื่อเปรียบเทียบระดับความปวด   เปรียบเทียบระดับความสามารถในการใช้งานของข้อ
           หลังได้รับยาระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาทาพระเส้น กับ  พบว่าลดลง ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญ
           กลุ่มที่ได้รับยาหลอก พบว่ามีความแตกต่างกันอย่าง  ทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 4) กลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่

           มีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 5)  ได้รับยาหลอก ระดับความสามารถในการใช้งานของ
                  3.2) ระดับอาการข้อฝืด พบว่า กลุ่มผู้เข้า  ข้อก่อนใช้ยา มีค่าเฉลี่ย 2.94 ± 1.87 และระดับความ

           ร่วมวิจัยที่ได้รับยาทาพระเส้น ระดับอาการข้อฝืดก่อน  สามารถในการใช้ข้อหลังใช้ยา มีค่าเฉลี่ย 3.12 ± 1.92
           ใช้ยามีค่าเฉลี่ย 5.62 ± 1.97 และระดับอาการข้อฝืด  เมื่อเปรียบเทียบระดับความสามารถในการใช้งานของ
           หลังใช้ยา มีค่าเฉลี่ย 3.38 ± 1.93 เมื่อเปรียบเทียบ  ข้อ พบว่าเพิ่มขึ้น ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัย

           ระดับอาการข้อฝืดก่อนและหลังได้รับยาของกลุ่มที่  สำาคัญทางสถิติ (p > 0.05) (ตารางที่ 4) เมื่อเปรียบ
           ได้รับยาทาพระเส้น พบว่าลดลง ซึ่งมีความแตกต่าง  เทียบระดับความสามารถในการใช้งานของข้อ หลัง
           กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 4)   ได้รับยาระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาทาพระเส้นกับกลุ่มที่

                  ส่วนกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาหลอก   ได้รับยาหลอก พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัย
           ระดับอาการข้อฝืดก่อนใช้ยามีค่าเฉลี่ย 4.4 ± 1.9 และ  สำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) (ตารางที่ 5)
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109