Page 102 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 102

452 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           วิธีก�รศึกษ�                                (placebo) จำานวน 25 คน โดยจะได้รับยาหลอก แบ่ง
                1)  การเตรียมผู้เข้าร่วมวิจัย โดยมาจากผู้มา  บรรจุเป็นขวด ขวดละ 2 มิลลิลิตร โดยให้ทาจำานวน 3

           รับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลบ้าน  ครั้งต่อวัน (เช้า กลางวัน และก่อนนอน) ก่อนทายาให้
                                                                                ้
           เหล่าสามัคคี อำาเภอเชียงขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ดทั้งนี้  ทำาความสะอาดบริเวณเข่าด้วยนำาอุ่น ทาครั้งละขวด
           ได้เตรียมยาไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะจัดสรรผู้เข้าร่วมวิจัย  บริเวณรอบ ๆ ข้อเข่าโดยไม่ต้องล้างออก เป็นเวลา 7

           เข้าสู่โครงการวิจัย โดยยาทาพระเส้นระบุเป็น code A   วันติดต่อกัน และทำาการบันทึกข้อมูลการทายาลงใน
           และยาหลอกระบุว่าเป็น code B ในการจัดสรรยาให้  สมุดบันทึก

           แก่ผู้เข้าร่วมวิจัยจะทำาโดยเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล       3.5) การประเมินผู้เข้าร่วมวิจัยในโครงการ
           ส่งเสริมสุขภาพตำาบล                         มีการประเมินระดับความเจ็บปวดหลังจากทายาได้
                2)  การเตรียมบุคลากรในการวิจัย ได้มีการจัด  ติดต่อกัน 7 วันแล้ว โดยผู้เข้าร่วมวิจัยรับแบบบันทึก

           ประชุมชี้แจงการเก็บข้อมูลวิจัยแก่เจ้าหน้าที่ และผู้  ข้อมูลในการทายาแต่ละครั้ง เพื่อไม่ให้ผู้เข้าร่วมวิจัย
           ช่วยวิจัย ที่มีความพร้อมและยินดีเป็นสถานที่ศึกษา  สับสน และเพื่อความถูกต้องแม่นยำาของข้อมูล

           วิจัย
                3)  ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล         ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
                  3.1) การซักประวัติ โดยใช้ OPD card และ     1)  ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลบรรยายใช้สถิติเชิง

           การตรวจวินิจฉัย เพื่อคัดกรองผู้เข้าร่วมวิจัยตาม  พรรณนา (descriptive statistics) โดยใช้ร้อยละ
           เกณฑ์การวิจัย โดยแพทย์แผนไทยประยุกต์        ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                  3.2) การแบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยออกเป็น 2      2)  เปรียบเทียบข้อมูลอาการปวดเข่า (VAS),

           กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง ด้วยวิธีการ  องศาการเคลื่อนไหวของเข่า ภายในกลุ่มก่อนและหลัง
           สุ่มแบบ randomized double-blinded controlled   การรักษาโดยใช้ paired sample t-test และเปรียบ
           trial โดยใช้เป็นหมายเลข และจัดสรรยาให้แก่ผู้เข้า  เทียบหลังการรักษาระหว่างกลุ่มโดยใช้ independent

           ร่วมวิจัย โดยเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุข  sample t-test
           ภาพตำาบล ซึ่งผู้เข้าร่วมวิจัย เจ้าหน้าที่ และคณะผู้วิจัย     3)  เปรียบเทียบข้อมูล Western Ontario and

           ไม่ทราบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยรายใดได้รับยาใดจนสิ้นสุด  McMaster University (WOMAC) ภายในกลุ่ม
           โครงการ                                     ก่อนและหลังการรักษาโดยใช้ paired sample t-test
                  3.3) การทดลองสำาหรับกลุ่มที่ได้รับยาทา  และเปรียบเทียบหลังการรักษาระหว่างกลุ่มโดยใช้

           พระเส้น จำานวน 25 คน โดยจะได้รับยาทาพระเส้น   independent sample t-test
           แบ่งบรรจุเป็นขวด ขวดละ 2 มิลลิลิตร จำานวน 3 ครั้ง

           ต่อวัน (เช้า กลางวัน และก่อนนอน) ทาครั้งละขวด            ผลก�รศึกษ�
           บริเวณรอบ ๆ ข้อเข่า เป็นเวลา 7 วันติดต่อกัน และ     1) ข้อมูลทั่วไป
           ทำาการบันทึกข้อมูลการทายาลงในสมุดบันทึก         ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมวิจัย ได้แก่ เพศ อายุ

                  3.4) การทดลองสำาหรับกลุ่มที่ได้รับยาหลอก   ค่าดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI) ไม่พบ
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107