Page 99 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 99
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 449
อนามัยโลก คาดว่าในปี พ.ศ. 2563 จะมีผู้ป่วยโรค รูป เข่าโก่ง งอเข่าไม่ได้องศา ขณะเดินในเข่ามีเสียง
[1]
กระดูกและข้อเพิ่มขึ้นเป็น 570 ล้านคน และใน กรอบแกรบ อาจปวดมากเวลาเปลี่ยนอิริยาบถและ
ประเทศไทย พบว่ามีผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับระบบกระดูก ก้าวขึ้นบันได สาเหตุของโรคเกิดจากธาตุแปรเปลี่ยน
และข้อ มากกว่า 6 ล้านคน ซึ่งโรคข้อเสื่อมที่พบมาก มูลเหตุการเกิดโรค เกิดจากอาหาร อิริยาบถ อากาศ
[4]
ที่สุดคือ ข้อเข่า เพราะข้อเข่าเป็นข้อที่มีขนาดใหญ่ และ และไม่ควบคุมนำ้าหนักตัว การรักษาในทางการ
้
ต้องรับนำาหนักของร่างกายโดยตรง เป็นปัญหาสำาคัญ แพทย์แผนไทยเกี่ยวกับอาการปวดของโรคลมจับโปง
ของระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย เนื่องจาก แห้งเข่า มีหลายวิธี ได้แก่ การนวดรักษา การประคบ
เป็นโรคที่พบบ่อยเป็น 1 ใน 10 โรคที่เป็นสาเหตุสำาคัญ สมุนไพร การพอกยา และการทายาสมุนไพร เป็นต้น
[2]
อันก่อให้เกิดความทุพพลภาพในผู้สูงอายุ และจาก ในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้มีการบันทึกตำาราโอสถ
สถิติผู้ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้าน พระนารายณ์อย่างมีแบบแผน เป็นภูมิปัญญาการ
เหล่าสามัคคี ตำาบลพระเจ้า อำาเภอเชียงขวัญ จังหวัด รักษาโรคทางเภสัชกรรมไทย และในตำาราโอสถพระ-
ร้อยเอ็ด พบว่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556-2560 มีแนวโน้ม นารายณ์นี้ ได้มีบันทึกถึงตำารับยาที่ใช้รักษาโรคลมจับ
สัดส่วนของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมสูงขึ้น ที่สำาคัญ โปง คือ ตำารับยาทาพระเส้น ซึ่งเป็นตำารับยาขนานที่ 58
้
ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไปมี ของตำาราโอสถพระนารายณ์ เป็นยานำาใช้ทาบริเวณที่
่
จำานวนสูงกว่าผู้ที่มีอายุตำากว่า 40 ปีอย่างชัดเจน มีอาการของโรค โดยมีสรรพคุณสำาหรับทาแก้เส้นที่
อาการสำาคัญที่ทำาให้ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมมา ผิดปกติ แก้ลมอัมพาต แก้ลมปัตคาด แก้ตะคริว แก้
ใช้บริการทางการแพทย์ คือ อาการปวดเข่า ข้อเข่า ลมจับโปง แก้เมื่อยขบ มีตัวยาทั้งสิ้น 13 ชนิด ได้แก่
เสื่อมทางการแพทย์แผนตะวันตก คือ โรคที่มีการ พริกไทย กระชาย ข่า หอม กระเทียม มหาหิงคุ์ ยาดำา
เปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่อมของข้อเข่า โดยตำาแหน่ง ตะไคร้หอม ใบขี้เหล็ก ใบตองแตก ใบมะขาม ใบเลี่ยน
[5]
ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน คือที่กระดูกอ่อนผิว และใบมะคำาไก่ ซึ่งสมุนไพรส่วนใหญ่มีฤทธิ์ในการ
ข้อ รวมถึงกระดูกบริเวณใกล้เคียง เช่น ขอบกระดูก ต้านการอักเสบ อาทิเช่น พริกไทยมีสาร piperine
้
ในข้อหนาตัวขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงของนำาไขข้อทำาให้ ซึ่งมีฤทธิ์แก้ปวด กระเทียมมีสารกลุ่มฟลาโวนอยด์
คุณสมบัติการหล่อลื่นลดลง ซึ่งส่วนใหญ่พบในผู้สูง สามารถยับยั้งเอนไซม์ที่กระตุ้นการสร้างสารที่ทำาให้
อายุ มีลักษณะทางคลินิกที่สำาคัญคือ ปวดข้อ ข้อฝืด เกิดการอักเสบ ยาดำามีสาร aloenin, สาร barbaloin
มีปุ่มกระดูกงอกบริเวณข้อ การทำางานของข้อเสียไป และ สาร isobarbaloin มีฤทธิ์ลดการอักเสบ เป็นต้น
การเคลื่อนไหวลดลง หากกระบวนการนี้ดำาเนินต่อไป จากรายงานการศึกษาการทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบ
จะมีผลทำาให้ข้อผิดรูปและพิการในที่สุด ซึ่งลักษณะ และต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดสมุนไพรของตำารับ
อาการสำาคัญดังกล่าวเมื่อได้รับการตรวจวินิจฉัยด้วย ยาทาพระเส้นโอสถพระนารายณ์และการพัฒนาตำารับ
ศาสตร์การแพทย์แผนไทยพบว่ามีความใกล้เคียงกับ ครีมนวดทาพระเส้นตำารับโอสถพระนารายณ์ พบ
โรคลมจับโปงแห้งเข่ามากที่สุด ว่าผลิตภัณฑ์ตำารับครีมนวดทาพระเส้นตำารับโอสถ
[3]
โรคลมจับโปงแห้งเข่า คือ โรคที่มีอาการปวด พระนารายณ์ให้ฤทธิ์ต้านการอักเสบ ไม่เป็นพิษ และ
บวมแดง แต่จะพบเพียงเล็กน้อย มีสภาวะข้อเข่าผิด ต้านอนุมูลอิสระ [6]