Page 105 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 105

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  455




            ตารางที่ 4  ค่าเฉลี่ย ระดับอาการปวด ระดับอาการข้อฝืด และระดับความสามารถในการใช้งานของข้อ ก่อนและหลัง
                     การได้รับยาของผู้เข้าร่วมวิจัย โดยใช้ Western Ontario and McMaster University (WOMAC)

             การประเมิน        ยาที่ได้รับการรักษา          x        S.D.       t        p-value
             ระดับความปวด      ยาทาพระเส้น  ก่อนได้รับยา   4.59      2.36     -0.65      0.533
                                            หลังได้รับยา   2.70      1.71
                               ยาหลอก       ก่อนได้รับยา   3.45      1.66      7.01      0.004
                                            หลังได้รับยา   3.54      1.95

             ระดับอาการข้อฝืด   ยาทาพระเส้น  ก่อนได้รับยา   5.62     1.97     -2.62      0.282
                                            หลังได้รับยา   3.38      1.93
                               ยาหลอก       ก่อนได้รับยา   4.4        1.9      6.68      0.002
                                            หลังได้รับยา   4.6       1.97

             ระดับความสามารถ  ยาทาพระเส้น  ก่อนได้รับยา    4.64      2.21     -4.67      0.471
             ในการใช้งานของข้อ              หลังได้รับยา   2.38      1.84
                               ยาหลอก       ก่อนได้รับยา   2.94      1.87      5.49      0.001
                                            หลังได้รับยา   3.12      1.92




            ตารางที่ 5  เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับความปวด หลังได้รับยาระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาทาพระเส้นกับกลุ่มที่ได้รับยาหลอก
                     ของผู้เข้าร่วมวิจัย โดยใช้ Western Ontario and McMaster University (WOMAC)
             การประเมิน         ยาที่ได้รับการรักษา       x         S.D.        t        p-value

             ระดับความปวด       หลังได้รับยาทาพระเส้น   2.70       1.71        6.54      0.002
                                หลังได้รับยาหลอก        3.54       1.95

             ระดับอาการข้อฝืด   หลังได้รับยาทาพระเส้น   3.38       1.93        4.39      0.004
                                หลังได้รับยาหลอก         4.6       1.97

             ระดับความสามารถ    หลังได้รับยาทาพระเส้น   2.38       1.84        5.86      0.004
             ในการใช้งานของข้อ   หลังได้รับยาหลอก       3.12       1.92



                 4) การประเมินองศาการเคลื่อนไหวของข้อเข่า   ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาทาพระเส้น มีองศาการเหยียด

            โดยใช้ โกนิโอมิเตอร์ (goniometer)           ข้อเข่าก่อนใช้ยา ค่าเฉลี่ย 171.28 ± 3.89 และมีองศา
                 การประเมินองศาเคลื่อนไหวของข้อเข่า (ROM)   การเหยียดข้อเข่าหลังใช้ยาค่าเฉลี่ย 172.98 ± 1.10

            จะประเมินองศาการเหยียดข้อเข่า (extension) และ  เมื่อเปรียบเทียบองศาการเหยียดข้อเข่า พบว่าเพิ่มขึ้น
            องศาการงอข้อเข่า (flexion)                  ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (p <
                 การประเมินองศาการเหยียดข้อเข่า พบว่า กลุ่ม  0.05)
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110