Page 100 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 100

450 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




                การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา     p1 = อัตราของผลลัพธ์ที่คาดว่า จะเกิดใน
           ประสิทธิผลเบื้องต้นของตำารับยาทาพระเส้น ต่อ  ประชากรกลุ่มควบคุม 0.4

           ระดับความปวด ตลอดจนระดับอาการฝืดของข้อเข่า      p2 = อุบัติการณ์ของผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดใน
           ความสามารถในการใช้งานของข้อเข่า และองศาการ  ประชากรกลุ่มทดลอง 0.8
           เคลื่อนไหวข้อเข่า เพื่อให้ผู้ป่วยโรคลมจับโปงแห้งเข่า  Zα = 1.96; Zb = 0.84

           มีอาการปวดลดลง                                  จากสูตร n = 23 คน ต่อกลุ่มการศึกษา
                                                           การศึกษานี้กำาหนดค่าความคลาดเคลื่อนร้อยละ
                       ระเบียบวิธีศึกษ�                10 ดังนั้นจึงให้มีกลุ่มตัวอย่าง 25 คน ต่อกลุ่ม รวมทั้ง

                                                       สิ้น 50 คน
           รูปแบบก�รศึกษ�                                  เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัยเข้าร่วม

                เป็นการศึกษาวิจัยทางคลินิก (clinical re-  โครงการ (inclusion criteria) มีดังนี้

           search) แบบ randomized double-blinded           1   เพศชาย-เพศหญิง อายุ 40 ปีขึ้นไป
           controlled trial โดยเปรียบเทียบผลการศึกษา       2)  ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนไทยหรือ

           ก่อน-หลังการใช้ยา เพื่อประเมินประสิทธิผลเบื้องต้น  แพทย์แผนไทยประยุกต์ ว่าเป็นโรคลมจับโปงแห้ง
           ของการใช้ยาทาพระเส้นในการรักษาอาการปวดเข่า  เข่า
           ของผู้ป่วยโรคลมจับโปงแห้งเข่า การวิจัยนี้ได้รับการ     3)  สามารถเดินมาได้เอง มีสติสัมปชัญญะ

           อนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์   สมบูรณ์ ไม่มีความบกพร่องทางปัญญา สื่อสารรู้เรื่อง
           มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เลขที่ 123/2561        สามารถให้ข้อมูลได้ด้วยตนเอง

                                                           4)  เต็มใจและยินดีให้ความร่วมมือในการทำา
           ประช�กรและกลุ่มตัวอย่�ง                     วิจัยครั้งนี้ตลอดช่วงการศึกษาวิจัย

                ผู้ป่วยโรคลมจับโปงแห้งเข่า ที่ได้รับการตรวจ     เกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมวิจัยออกจาก

           วินิจฉัยจากแพทย์แผนไทยประยุกต์ เข้ารับการ   โครงการ (exclusion criteria) ดังนี้
           บริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลบ้านเหล่า     1)  มีการแตกหักใกล้เข่า และเคยได้รับการ
           สามัคคี อำาเภอเชียงขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ด ระหว่าง  ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา

           เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 เป็นระยะ     2)  มีบาดแผลที่บริเวณเข่า
           เวลาทั้งหมด 12 เดือน ประชากรที่เข้ารับการรักษา     3)  มีโรคติดต่อ เช่น วัณโรค โรคที่ติดต่อทาง
           เป็นจำานวน 68 ราย และงานวิจัยมีการคัดเลือกกลุ่ม  ผิวหนัง

           ตัวอย่าง “ผู้ป่วยโรคลมจับโป่งแห้งเข่า’’ 25 คนต่อ     4)  มีอาการบางอย่างร่วม เช่น โรคมะเร็ง ไข้ไม่
           กลุ่ม รวมทั้งสิ้น 50 ราย โดยใช้สูตรการคำานวณ   ทราบสาเหตุ

                                                           5)  ไม่มีประวัติการใช้ยาแก้ปวดอื่น หรือใช้ยา
                                                       นอกเหนือจากใบสั่งแพทย์ ในช่วง 1 สัปดาห์ก่อนเข้า
                n = จำานวนประชากรที่ศึกษาในแต่ละกลุ่ม  ร่วมโครงการ
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105